ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1927 =========================== เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศมองโกเลีย เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศมองโกเลีย การเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติประเทศมองโกเลีย ค.ศ. 1924-1949 รายชื่อปีในประเทศมองโกเลีย บทความเกี่ยวกับปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เวลา ถ้วยตวง ======= ถ้วยตวง หรือ ถ้วย (อังกฤษ: cup) เป็นหน่วยวัดปริมาตรสำหรับการตวงวัตถุดิบในการปรุงอาหาร ทั้งเครื่องปรุงที่เป็นของเหลว ของแข็งที่เป็นเม็ด หรือผง ขนาดของถ้วยตวงตามครัวเรือนในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันไป แต่เนื่องจากส่วนใหญ่มีขนาดต่างกันไม่มาก จึงสามารถใช้แทนกันได้ 1 ถ้วยตวง แบบเมตริก จะเท่ากับ 250 มิลลิลิตร, ใช้ในประเทศกลุ่มเครือจักรภพแห่งประชาชาติ และลาตินอเมริกา 1 ถ้วยตวง แบบจารีตประเพณีอเมริกัน จะเท่ากับครึ่งไพนต์อเมริกัน (236.5882365 มิลลิลิตร) 1 ถ้วยตวง ตามกฎหมายอเมริกัน จะเท่ากับ 240 มิลลิลิตร หรือ 12 ช้อนชาแบบสากล 1 ถ้วยตวง แบบอิมพีเรียล จะเท่ากับครึ่งไพนต์อังกฤษ (หรือ 284 มิลลิลิตร), ไม่ใช้แล้วในปัจจุบัน 1 ถ้วยตวง แบบญี่ปุ่น จะเท่ากับ 200 มิลลิลิตร 1 ถ้วยตวงมาตรฐาน จะเท่ากับ 230 มิลลิลิตร บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ถ้วยตวงพลาสติก ขนาด 1 ถ้วยตวงเมตริก พร้อมขีดปริมาตรหน่วยออนซ์ อู่ฮั่น ======= อู่ฮั่น เป็นเมืองเอกของมณฑลหูเป่ยและเป็นเมืองใหญ่สุดในมณฑล มีพื้นที่ 8,467.11 ตร.กม. (ในเมือง 1,954 ตร.กม.) ประชากร 8,100,000 (พ.ศ. 2549) อู่ฮั่น เป็นเมืองเอกของมณฑลหูเป่ยและเป็นเมืองใหญ่สุดในมณฑล มีพื้นที่ 8,467.11 ตร.กม. (ในเมือง 1,954 ตร.กม.) ประชากร 8,100,000 (พ.ศ. 2549) แม่น้ำ 1 : แม่น้ำฮั่น (漢江) มี 6 สะพาน แม่น้ำ 2 : แม่น้ำแยงซี (長江/揚子江) มี 6 สะพาน ฮั่นโข่ว (Hankou/漢口) มีประชากรประมาณ 1,500,000 คน อู่ชาง (Wuchang/武昌) มีประชากรประมาณ 1,700,000 คน ฮั่นหยาง (Hanyang/漢陽) มีประชากรประมาณ 900,000 คน นอกเมือง มีประชากรประมาณ 3,900,000 คน ในเมือง: 6/ ฮ่องชาน (洪山區) 7/ เขตเจียงอาน (江岸區) 8/ เขตเจียงฮั่น (江漢區) 9/ Qiao-Kou (礄口區) 10/ เขตฮั่นหยาง (漢陽區) 11/ เขตอู่ชาง (武昌區) 12/ เขตชิงชาน (青山區) นอกเมือง: 1/ Huang-Po (黃陂區) 2/ เขตตงซีหู (東西湖區) 3/ Chai-Dian (蔡甸區) 4/ เขตฮั่นหนาน (漢南區) 5/ เขตเจียงเซี่ย (江夏區) 11/ เขตซินโจว (新洲區) พื้นที่แรกตั้งหลักปักฐานมากกว่า 3,000 ปีก่อนระหว่างราชวงศ์ฮั่นกลายเป็นพอร์ทยุ่งอย่างยุติธรรมในพอร์ทโฆษณาศตวรรษของสงครามที่มีชื่อเสียงมากที่สุดที่ 3ในประวัติศาสตร์จีนและเหตุการณ์ศูนย์กลางในRomance ของ 3 ราชอาณาจักร — สงครามของหน้าผาสีแดงสถานที่ใช้ในบริเวณของหน้าผาใกล้ อู่ฮั่น รอบเวลานั้นกำแพงแรกสร้างเพื่อป้องกัน Hanyang ตึกในศตวรรษ 8 แรก กลอนของเขาที่ทำตึกตึกที่ฉลองมากที่สุดในจีนทางใต้เมืองมียาวถูกเป็นศูนย์สำหรับศิลปะ (โดยเฉพาะคำกลอน) และสำหรับการเรียนทางปัญญาใต้ไม้บรรทัดมองโกล(ราชวงศ์หยวน) เส้นทางรถไฟขนส่งสายหลักของประเทศ ปักกิ่ง-กว่างตง พาดผ่านทิศตะวันออกของมณฑลหูเป่ย จึงสะดวกต่อการขนส่งปัจจัยการผลิตทั้งในและนอกมณฑล วัตถุดิบที่ขนส่งทางรถไฟในหูเป่ยส่วนใหญ่เป็นประเภทถ่านหิน เหล็ก วัสดุก่อสร้างเช่น ไม้แปรรูป ธัญญาหาร แร่บางชนิด เป็นต้น ในช่วงทศวรรษที่ 1970 มีการก่อสร้างเส้นทางรถไฟ ผ่านเมืองสำคัญๆ ในมณฑล จากตะวันตกไปตะวันออก จากเหนือล่องใต้ จนถึงปี 1990 มณฑลนี้มีเส้นทางรถไฟรวมระยะทาง 1,673 กิโลเมตรยังมีการบูรณะเส้นทางรถไฟสายเซียงฝัน - ฉงชิ่ง ระยะเมืองเซียงฝัน - อำเภอต๋าเซี่ยน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้า ซึ่งนับเป็นสายที่ 3 ของประเทศด้วยทางหลวง ในปี 2003 โครงการลงทุนก่อสร้างทางหลวงที่สำเร็จไปแล้วได้แก่ ทางด่วนสายอู่ฮั่น - สือเยี่ยน ระยะเซียงฝัน - อู่ฮั่น และเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างทางด่วนสายอู่ฮั่น-สือเยี่ยน กับทางด่วนสายเซียงฝัน - จิงโจว รวมเส้นทางขยายทั้งสิ้น 130.5 กิโลเมตร เส้นขนส่งทางน้ำก็เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญในมณฑลหูเป่ย เนื่องจาก มีแม่น้ำสำคัญ 2 สายไหลผ่าน คือ แม่น้ำฉางเจียง (แยงซีเกียง) และแม่น้ำฮั่นเจียง เป็นเส้นทางขนส่งทางน้ำสายหลัก ทั้งนี้เมืองและอำเภอต่างๆกว่าครึ่งหนึ่งในมณฑลหูเป่ยยังใช้เส้นทางน้ำเป็นเส้นทางคมนาคมหลัก ดังนั้นมณฑลนี้จึงมีการอุตสาหกรรมการเดินเรือที่ทันสมัยแห่งหนึ่งของประเทศเมืองท่าต่างๆ อาทิ อู่ฮั่น หวงสือ ซาซื่อ อี๋ชัง มีการเปิดเส้นทางติดต่อกับต่างประเทศมานาน โดยมีท่าเรืออู่ฮั่นเป็นท่าเรือใหญ่ที่สุดของแม่น้ำฉางเจียงตอนล่าง และเป็นท่าเรือที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เนื่องจากเป็น 1 ใน 8 ท่าเรือที่เปิดใช้ในช่วงจีนปฏิรูปอุตสาหกรรมและเปิดประเทศราวปี 1980 และในปีถัดมาก็เปิดเส้นทางเดินเรือ ขนส่งสินค้าไปฮ่องกง ญี่ปุ่น และประเทศในแถบเอเชียอาคเนย์ สำหรับแม่น้ำฮั่นเจียงนั้น เป็นเส้นทางติดต่อไปยังถิ่นทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑล บนที่ราบเจียงฮั่น โดยมีท่าเรือเซียงฝันและท่าเรือเหล่าเหอโข่ว เป็นท่าเรือที่สำคัญ สถิติเมื่อปี 2000 หูเป่ยมีบริษัทเดินอากาศ 4 แห่ง สนามบินพลเรือน 5 แห่ง สนามบินกองทัพอากาศ 1 แห่ง เปิดเส้นทางบินทั้งในและนอกประเทศ 107 เส้นทาง บินตรงสู่เมืองต่างๆ ในประเทศ 57 เมือง สนามบินเทียนเหอที่เมืองอู่ฮั่น ยังเป็นสนามบินที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลางของประเทศ สิ่งแรก Chang Jiang สะพานที่ อู่ฮั่น คือสร้างข้าม แม่น้ำแยงซีเกียง (Chang Jiang) ในปี 1957 การถือทางรถไฟโดยตรงข้ามแม่น้ำระหว่างภูเขางู ชิ้นของสถาปัตยกรรม Stalinist ในตอนกลางของจีน ท่าอากาศยานนานาชาติ - อู่ฮั่น (Wuhan International Airport, จีน: 武漢天河國際機場) Wuhan sees negative population growth รัฐบาล อู่ฮั่น เว็บไซต์ อู่ฮั่น สารสนเทศ เว็บไซต์ อู่ฮั่น ประวัติศาสตร์ An Introducting to Wuhan Beautiful Wuhan Scenery บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล บทความนี้อาจต้องการพิสูจน์อักษร ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ ชื่อเรียก อู่ฮั่น อักษรไทย อู่ฮั่น ภาษาจีน - อักษรจีนตัวย่อ 武汉市 - อักษรจีนตัวเต็ม 武漢市 - พินอิน Wǔhàn Shì อักษรโรมัน Wuhan ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง มณฑลหูเป่ย ปีสถาปนา ตุลาคม พ.ศ. 2469 ประเภทเขตปกครอง กึ่งมณฑล เลขาฯเขตปกครอง แห่งCPC Miao wei ผู้ว่าการ Li xiansheng พื้นที่ 8467.11 กม.² ประชากร (พ.ศ. 2550) - เขตเมือง 5,000,000 - ความหนาแน่น 947 คน/กม. - ปริมณฑล 9,400,000 จำนวนเมือง/อำเภอ 18 จำนวนตำบล 240 รหัสไปรษณีย์ 430000 รหัสโทรศัพท์ 027 ISO 3166-2 CN-12 เว็บไซต์ http://www.tj.gov.cn (อักษรจีนตัวย่อ) บทความนี้มีข้อความภาษาจีน หากไม่มีการสนับสนุนเรนเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่องหรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักษรจีน คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: อู่ฮั่น - ประเทศจีน ทิวทัศน์เมืองอู่ฮั่น เขตอู่ฮั่น เมืองอู่ฮั่น อนุสาวรีย์ของซุน ยัตเซ็นในเมืองอู่ฮั่น แผนที่ การขนส่ง อู่ฮั่น (จีน) สะพานแรกเห็นจาก -- ฮั่นหยาง(漢陽) โกลเดินริทรีฟเวอร์ ================== โกลเดินริทรีฟเวอร์ (อังกฤษ: Golden Retriever) เป็นสายพันธุ์สุนัข มีถิ่นกำเนิดในประเทศสกอตแลนด์ มีขนยาว มีสีขนเหลืองอ่อน เหลืองทอง และเหลืองเข้ม โดยทั่วไปแล้ว เพศผู้ควรมีความสูง (วัดจากหัวไหล่ถึงปลายเท้า) ประมาณ 23- 24 นิ้ว และเพศเมียควรมีความสูงประมาณ 21.5-22.5 นิ้ว แต่เดิมนั้นสายพันธุ์นี้ได้ปรับปรุงคุณลักษณะบางอย่างเพื่อในงานของนายพราน เช่น มีรูปร่างสมส่วน คล่องตัว เขียวและฟันงับชิ้นเหยื่อโดยให้ช้ำเพียงเล็กน้อย เป็นต้น ไม่มีปรากฏว่าสุนัขสายพันธุ์นี้มีความก้าวร้าวแต่อย่างใด โกลเดินริทรีฟเวอร์ (อังกฤษ: Golden Retriever) เป็นสายพันธุ์สุนัข มีถิ่นกำเนิดในประเทศสกอตแลนด์ มีขนยาว มีสีขนเหลืองอ่อน เหลืองทอง และเหลืองเข้ม โดยทั่วไปแล้ว เพศผู้ควรมีความสูง (วัดจากหัวไหล่ถึงปลายเท้า) ประมาณ 23- 24 นิ้ว และเพศเมียควรมีความสูงประมาณ 21.5-22.5 นิ้ว แต่เดิมนั้นสายพันธุ์นี้ได้ปรับปรุงคุณลักษณะบางอย่างเพื่อในงานของนายพราน เช่น มีรูปร่างสมส่วน คล่องตัว เขียวและฟันงับชิ้นเหยื่อโดยให้ช้ำเพียงเล็กน้อย เป็นต้น ไม่มีปรากฏว่าสุนัขสายพันธุ์นี้มีความก้าวร้าวแต่อย่างใด สุนัขขนาดกลาง รักเด็ก ส่วนสูง น้ำหนัก วงจรชีวิต การจัดกลุ่มพันธุ์ 21.5 - 24 นิ้ว 55 - 75 ปอนด์ 12 - 14 ปี สุนัขที่ใช้ในกีฬาล่าสัตว์ ขนชั้นในแน่น และกันน้ำได้ดีเช่นเดียวกัน มีขนปุกปุยหนาแน่นบริเวณคอ ด้านหลังขาหลัง และหาง และมีขนปุกปุยปานกลางบริเวณด้านหลังขาหน้าและท้อง สีของขนมีหลายเฉดสีต่างกันไป ตั้งแต่สีทองเข้มจนถึงทองเงา โกลเดินริทรีฟเวอร์ เป็นสุนัขที่มีความเฉลียวฉลาดมากมากจนสามารถนำมาฝึกเพื่อใช้งานได้ เนื่องจากเป็นสุนัขที่มีขนาดปานกลาง จัดว่าเป็นสุนัขที่มีประสาทสัมผัสที่ดีทั้งในด้านของการฟังเสียง การดมกลิ่นสะกดรอย นอกจากนี้ยังมีสายตาอันเฉียบคมและแม่นยำ ด้วยเหตุนี้วงการทหารและตำรวจในหลายๆ ประเทศจึงได้นำสุนัขพันธุ์นี้มาฝึกเพื่อไว้ช่วยงานราชการ อาทิเช่น ตรวจค้นยาเสพติด, ดมกลิ่นสะกดรอยคนร้าย, ยามรักษาความปลอดภัย แต่ที่ดูเหมือนจะได้รับความนิยมสูงสุด ก็เห็นจะได้แก่ฝึกให้เป็นสุนัขนำทางคนตาบอด ทั้งนี้เพราะโกลเดินริทรีฟเวอร์เป็นสุนัขซึ่งฉลาด แต่ไม่ค่อยเจ้าเล่ห์หรือซุกซนเหมือนสุนัขบางพันธุ์ ขนชั้นนอกแน่น เงา หยิกเป็นลอนเล็กน้อย และราบเรียบไปตามลำตัว กันน้ำได้ดี มีความกระตือรือร้นตลอดเวลาจนถึงขั้นซุกซน จะไม่ส่งเสียงโดยไม่มีเหตุผล ฉลาด เชื่องมากๆ สามารถเรียนรู้การฝึกฝนได้รวดเร็วและสามารถฝึกฝนได้ง่าย ลูกสุนัขที่ได้มาจาการผสมพันธุ์ที่ไม่ดี จะมีนิสัยก้าวร้าว ซุกซน กระตือรือร้นมากเกินไป และเจ็บป่วยอยู่บ่อยๆ โกลเดินริทรีฟเวอร์ ที่ดีมอซ บทความเกี่ยวกับสัตว์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:โลกของสัตว์ บทความนี้อาจต้องการพิสูจน์อักษร ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: โกลเดินริทรีฟเวอร์ โกลเดินริทรีฟเวอร์สีเหลืองอ่อน โกลเดินริทรีฟเวอร์สีเหลืองเข้ม คัฟแฟะอาเมรีคาโน ================ คัฟแฟะอาเมรีคาโน (อิตาลี: caffè americano) หรือ กาเฟอาเมริกาโน (สเปน: café americano) คือเครื่องดื่มกาแฟชนิดหนึ่ง มีวิธีการชงโดยเติมน้ำร้อนผสมลงไปในเอสเปรสโซ การเจือจางเอสเปรสโซซึ่งเป็นกาแฟเข้มข้นด้วยน้ำร้อน ทำให้คัฟแฟะอาเมรีคาโนมีความแก่พอ ๆ กับกาแฟธรรมดา แต่มีกลิ่นและรสชาติที่เข้มที่มาจากเอสเปรสโซ คัฟแฟะอาเมรีคาโนเหมาะสำหรับผู้ที่ชื่นชอบกาแฟดำ แต่ไม่แก่และหนักถึงขั้นเอสเปรสโซ คอกาแฟส่วนใหญ่นิยมดื่มคัฟแฟะอาเมรีคาโนโดยไม่ปรุงด้วยนมหรือน้ำตาล เพื่อดื่มด่ำกับรสชาติกาแฟซึ่งแตกต่างจากกาแฟธรรมดา สำหรับที่มาของชื่อ "อาเมรีคาโน" หรือ "อาเมริกาโน" ซึ่งหมายถึง "แบบอเมริกัน" นั้น ว่ากันว่าเอสเปรสโซล้วน ๆ เข้มข้นเกินไปสำหรับคอกาแฟชาวอเมริกัน จึงมีการเสิร์ฟกาแฟเอสเปรสโซที่ทำให้เจือจางด้วยน้ำร้อนแทน แม้ว่าชื่อกาแฟจะหมายถึงกาแฟแบบอย่างอเมริกัน แต่คัฟแฟะอาเมรีคาโนก็มิได้เป็นกาแฟที่ชาวอเมริกันนิยมดื่มจนกระทั่งยุครุ่งเรืองของร้านกาแฟแบบลูกโซ่สตาร์บัคส์ในปี พ.ศ. 2533 ถึงกระนั้น คัฟแฟะอาเมรีคาโนก็ไม่จัดเป็นกาแฟที่ได้รับความนิยมมากนัก ด พ ก กาแฟ หัวข้อ เศรษฐศาสตร์ • การค้าขาย • ผลกระทบต่อสุขภาพ • ประวัติศาสตร์ การผลิตแต่ละประเทศ โบลิเวีย • บราซิล • โคลอมเบีย • คอสตาริกา • เอกวาดอร์ • เอลซัลวาดอร์ • สาธารณรัฐเอธิโอเปีย • กัวเตมาลา • เฮติ • ฮอนดูรัส • อินเดีย • อินโดนีเซีย • เคนยา • ลาว • เม็กซิโก • นิการากัว • ปาปัวนิวกินี • ฟิลิปปินส์ • แทนซาเนีย • สหรัฐอเมริกา • เวียดนาม ชนิดและสายพันธุ์ รายชื่อพันธุ์กาแฟ • อะแรบิกา • ชาริเยอร์ • โรบัสตา • ลิเบริกา ส่วนประกอบ คาเฟสตอล • กรดคาเฟอิก • กาเฟอีน ขบวนการเกี่ยวกับกาแฟ กาแฟคั่ว • การสกัดคาเฟอีน • การคั่วกาแฟ การจัดเตรียม/การผลิต เครื่องชงกาแฟ • กาต้มกาแฟ • เครื่องชงกาแฟเย็น • เอสเปรสโซ • เครื่องผลิตกาแฟเอสเพรสโซ • เครื่องกดเมล็ดกาแฟ • กาแฟสำเร็จรูป • เครื่องชงกาแฟแบบตุรกี • เครื่องชงกาแฟแบบหยด • เครื่องชงกาแฟแบบเป็นกาหยด • เฟรนซ์เพรส • มอคคาพอต • เพอร์โคเลเตอร์ • เครื่องชงกาแฟแบบสุญญากาศ ประเภทของกาแฟ คัฟแฟะอาเมรีคาโน • เอสเปรสโซ • ริสเตรตโต • กาเฟโอแล • กาเฟกอนเลเช • ลาตเท • โมคา • คัปปุชชีโน • แฟรปพัชชีโน • มอคคาสิปปี • กอร์ตาโด • มัคคียาโต • คัฟแฟะมัคคียาโต • ลัตเตมัคคียาโต • อัฟโฟกาโต • แฟลตไวต์ • กาแฟขี้ชะมด • กาแฟกรองอินเดีย (มัทราส) • ก่าเฟเสือด่า • กาแฟกรีก • กาแฟไอริช • กาแฟผงพร้อมชง • กาแฟเย็น • กาแฟดำ • กาแฟขาว อาชีพ ร้านกาแฟ คัฟแฟะอาเมรีคาโน รัฐบริติชโคลัมเบีย ================== รัฐบริติชโคลัมเบีย (ภาษาอังกฤษ: British Columbia; ภาษาฝรั่งเศส: la Colombie-Britannique) คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศ รัฐบริติชโคลัมเบีย มีเมืองหลวงชื่อว่า "วิคตอเรีย" มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของประเทศ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือเมือง "แวนคูเวอร์" ซึ่งเมืองแวนคูเวอร์นี้ เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ. ในปี ค.ศ. 2009 รัฐบริติชโคลัมเบีย มีการประเมินจำนวนประชากรอยู่ที่ประมาณ 4,419,974 คน รัฐบริติชโคลัมเบีย (ภาษาอังกฤษ: British Columbia; ภาษาฝรั่งเศส: la Colombie-Britannique) คือรัฐหนึ่งของประเทศแคนาดา ที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของประเทศ รัฐบริติชโคลัมเบีย มีเมืองหลวงชื่อว่า "วิคตอเรีย" มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 15 ของประเทศ โดยมีเมืองที่ใหญ่ที่สุดในรัฐคือเมือง "แวนคูเวอร์" ซึ่งเมืองแวนคูเวอร์นี้ เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ. ในปี ค.ศ. 2009 รัฐบริติชโคลัมเบีย มีการประเมินจำนวนประชากรอยู่ที่ประมาณ 4,419,974 คน ที่มา: Statistics Canada Statistics Canada - Population Canada's population. Statistics Canada. Last accessed September 28, 2006. บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล รัฐบริติชโคลัมเบีย (British Columbia Colombie-Britannique) แผนที่ ข้อมูลพื้นฐาน ธงประจำรัฐ ตราสัญลักษณ์ประจำรัฐ คำขวัญ: Splendor sine occasu ชื่อย่อรัฐ BC ภาษาทางการ ภาษาอังกฤษ เมืองหลวง วิกตอเรีย เมืองใหญ่สุด แวนคูเวอร์ รองผู้ว่าราชการ {{{Viceroy}}} นายกรัฐมนตรี กอร์ดอน แคมป์เบลล์ ผู้แทน {{{Viceroy}}} - สภาผู้แทนฯ {{{HouseSeats}}} - สภาสูง {{{SenateSeats}}} ข้อมูลสถิติ ประชากร อันดับที่ {{{PopulationRank}}}   {{{Population}}} คน (ข้อมูลปี {{{PopulationYear}}}) พื้นที่ อันดับที่ 5   {{{TotalArea_km2}}} ตร.กม. - พื้นน้ำ {{{WaterArea_km2}}} ความหนาแน่น {{{Density_km2}}} คน/ตร. กม. ข้อมูลอื่น เขตเวลา แปซิฟิก: UTC-8 -7 เข้าร่วมสหพันธ์ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2414 เว็บไซต์ www.gov.bc.ca/ ปี (พ.ศ.) จำนวน การเปลี่ยนแปลงรอบ 5 ปี เปลี่ยน (ร้อยละ) 10 ปี เปลี่ยน (ร้อยละ) อันดับ ที่ 2394 55,000 n/a n/a 6 2404 51,524 n/a -6.3 6 2414 36,247 n/a -29.7 7 2424 49,459 n/a 36.4 8 2434 98,173 n/a 98.5 8 2444 178,657 n/a 82.0 6 2454 392,480 n/a 119.7 6 2464 524,582 n/a 33.7 6 2474 694,263 n/a 32.3 6 2484 817,861 n/a 17.8 6 2494 1,165,210 n/a 42.5 3 2499 1,398,464 20.0 n/a 3 2504 1,629,082 16.5 39.8 3 2509 1,873,674 15.0 34.0 3 2514 2,184,620 16.6 34.1 3 2519 2,466,610 12.9 31.6 3 2524 2,744,467 11.3 25.6 3 2539 2,883,370 5.1 16.9 3 2534 3,282,061 13.8 19.6 3 2539 3,724,500 13.5 29.2 3 2544 3,907,738 4.9 19.1 3 2549 4,113,487 5.3 10.4 3 คริสเตียโน โรนัลโด ================== กริชเตียนู รูนัลดู ดุช ซังตุช อาไวรู (โปรตุเกส: Cristiano Ronaldo dos Santos Aveiro; เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คริสเตียโน โรนัลโด เป็นนักฟุตบอล ชาวโปรตุเกส ปัจจุบันสังกัดอยู่กับสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในลาลีกา เล่นในตำแหน่งกองหน้าและเป็นกัปตันทีม ของ ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกสคนปัจจุบัน โรนัลโดเป็นผู้เล่นที่มีค่าตัวแพงที่สุดเป็นอันดับสองในประวัติศาสตร์ฟุตบอลรองจากแกเร็ธ เบล หลังย้ายจากแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด มาอยู่กับเรอัลมาดริด ด้วยค่าตัว 80 ล้านปอนด์ โรนัลโดได้รับค่าจ้างในการลงเล่นให้กับเรอัลมาดริดจำนวน 12 ล้านปอนด์ต่อปี ทำให้เขาเป็นนักเตะที่มีค่าเหนื่อยมากที่สุดในโลก โรนัลโดได้ลงเล่นฟุตบอลในนามทีมเยาวชนของอังดูริญญา เมื่อเขาเล่นได้อยู่สองปี ก่อนที่จะย้ายไปอยู่กับนาซีอูนัลในปี 1997 เขาได้ทำสัญญาให้กับสโมสรยักษ์ใหญ่อย่างสปอร์ติงลิสบอน โรนัลโดได้ถูกพิจารณาย้ายตัวไปอยู่กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด โดยคนที่ซื้อเขาคือ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ซื้อตัวเขามาด้วยจำนวนเงิน 12.24 ล้านปอนด์ โรนัลโดได้แชมป์เอฟเอคัพ ซึ่งเป็นเกียรติประวัติแชมป์แรกของเขาในปี 2003 โรนัลโดลงเล่นในเกมของฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส ในระดับชาตินัดแรกคือตอนเจอกับคาซัคสถาน ในเดือนสิงหาคม 2003 และหลังจากนั้นเขาได้ลงเล่นมากขึ้นรวมทั้งหมดถึงห้าทัวร์นาเมนต์ ได้แก่ ยูโร 2004, ฟุตบอลโลก 2006, ยูโร 2008, ฟุตบอลโลก 2010 และยูโร 2012 เขาทำประตูแรกในนามทีมชาติโปรตุเกสได้ในการแข่งขันยูโร 2004 ในนัดเปิดการแข่งขันที่เจอกับกรีซ เขาเป็นคนสำคัญในการนำทีมชาติโปรตุเกสเข้าไปชิงชนะเลิศในปี 2004 และหลังจากนั้นโรนัลโดได้มีบทบาทและได้ลงตำแหน่งตัวจริงมากขึ้น ในปี 2008 โรนัลโดได้เป็นกัปตันทีมครั้งแรกของทีมชาติโปรตุเกสได้นำทีมเข้าแข่งขันยูโร 2008 สามารถเข้าไปถึงรอบรองชนะเลิศได้ เขาสามารถยิงได้สามประตูในการแข่งขันทัวร์นาเมนต์นี้ ในวันที่ 16 ตุลาคม 2012 โรนัลโดได้ลงเล่นครบ 100 นัดสำหรับทีมชาติโปรตุเกสในนัดที่เจอกับไอร์แลนด์เหนือ ทำให้เขาเป็นหนึ่งในสามนักเตะที่ลงเล่นให้กับทีมชาติโปรตุเกสเกิน 100 นัด ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 เฟซบุ๊กอย่างเป็นทางการของเขาได้มีคนติดตามถึง 50 ล้านคน ในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 มีการจัดอันดับตำแหน่งนักเตะรูปงามแห่งยูโร 2008 จัดทำโดยแอลจี บริษัทผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า คริสเตียโน โรนัลโดได้รับคะแนนโหวตครั้งนี้เป็นอันดับ 1 ในปี 2012 โรนัลโดได้รับรางวัลนักกีฬาไอบีเรีย-อเมริกา ประจำปี 2012 ประเภทนักฟุตบอลชาย กริชเตียนู รูนัลดู ดุช ซังตุช อาไวรู (โปรตุเกส: Cristiano Ronaldo dos Santos Aveiro; เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คริสเตียโน โรนัลโด เป็นนักฟุตบอล ชาวโปรตุเกส ปัจจุบันสังกัดอยู่กับสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในลาลีกา เล่นในตำแหน่งกองหน้าและเป็นกัปตันทีม ของ ฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกสคนปัจจุบัน โรนัลโดเป็นผู้เล่นที่มีค่าตัวแพงที่สุดเป็นอันดับสองในประวัติศาสตร์ฟุตบอลรองจากแกเร็ธ เบล หลังย้ายจากแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด มาอยู่กับเรอัลมาดริด ด้วยค่าตัว 80 ล้านปอนด์ โรนัลโดได้รับค่าจ้างในการลงเล่นให้กับเรอัลมาดริดจำนวน 12 ล้านปอนด์ต่อปี ทำให้เขาเป็นนักเตะที่มีค่าเหนื่อยมากที่สุดในโลก โรนัลโดได้ลงเล่นฟุตบอลในนามทีมเยาวชนของอังดูริญญา เมื่อเขาเล่นได้อยู่สองปี ก่อนที่จะย้ายไปอยู่กับนาซีอูนัลในปี 1997 เขาได้ทำสัญญาให้กับสโมสรยักษ์ใหญ่อย่างสปอร์ติงลิสบอน โรนัลโดได้ถูกพิจารณาย้ายตัวไปอยู่กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด โดยคนที่ซื้อเขาคือ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ซื้อตัวเขามาด้วยจำนวนเงิน 12.24 ล้านปอนด์ โรนัลโดได้แชมป์เอฟเอคัพ ซึ่งเป็นเกียรติประวัติแชมป์แรกของเขาในปี 2003 โรนัลโดลงเล่นในเกมของฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส ในระดับชาตินัดแรกคือตอนเจอกับคาซัคสถาน ในเดือนสิงหาคม 2003 และหลังจากนั้นเขาได้ลงเล่นมากขึ้นรวมทั้งหมดถึงห้าทัวร์นาเมนต์ ได้แก่ ยูโร 2004, ฟุตบอลโลก 2006, ยูโร 2008, ฟุตบอลโลก 2010 และยูโร 2012 เขาทำประตูแรกในนามทีมชาติโปรตุเกสได้ในการแข่งขันยูโร 2004 ในนัดเปิดการแข่งขันที่เจอกับกรีซ เขาเป็นคนสำคัญในการนำทีมชาติโปรตุเกสเข้าไปชิงชนะเลิศในปี 2004 และหลังจากนั้นโรนัลโดได้มีบทบาทและได้ลงตำแหน่งตัวจริงมากขึ้น ในปี 2008 โรนัลโดได้เป็นกัปตันทีมครั้งแรกของทีมชาติโปรตุเกสได้นำทีมเข้าแข่งขันยูโร 2008 สามารถเข้าไปถึงรอบรองชนะเลิศได้ เขาสามารถยิงได้สามประตูในการแข่งขันทัวร์นาเมนต์นี้ ในวันที่ 16 ตุลาคม 2012 โรนัลโดได้ลงเล่นครบ 100 นัดสำหรับทีมชาติโปรตุเกสในนัดที่เจอกับไอร์แลนด์เหนือ ทำให้เขาเป็นหนึ่งในสามนักเตะที่ลงเล่นให้กับทีมชาติโปรตุเกสเกิน 100 นัด ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012 เฟซบุ๊กอย่างเป็นทางการของเขาได้มีคนติดตามถึง 50 ล้านคน ในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008 มีการจัดอันดับตำแหน่งนักเตะรูปงามแห่งยูโร 2008 จัดทำโดยแอลจี บริษัทผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า คริสเตียโน โรนัลโดได้รับคะแนนโหวตครั้งนี้เป็นอันดับ 1 ในปี 2012 โรนัลโดได้รับรางวัลนักกีฬาไอบีเรีย-อเมริกา ประจำปี 2012 ประเภทนักฟุตบอลชาย คริสเตียโน โรนัลโด เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ที่เกาะมาเดรา ประเทศโปรตุเกส เป็นบุตรชายของนายฌูแซ ดีนิช อาไวรู (เสียชีวิตเมื่อปี พ.ศ. 2548 ขณะมีอายุ 52 ปี) กับนางมารีอา ดูโลรึช อาไวรู เป็นบุตรชายคนเล็กในพี่น้อง 4 คน ถึงแม้ตอนเกิดเขาจะคลอดก่อนกำหนดแต่ก็มีน้ำหนักสมบูรณ์ถึง 8 ปอนด์ ทวดฝ่ายมารดาของเขา อีซาเบล ดา ปีดาดึ มีพื้นเพมาจากประเทศกาบูเวร์ดี (เคปเวิร์ด) ที่มาของชื่อโรนัลโดนั้น บิดาของเขาเป็นผู้ตั้งให้ โดยได้แรงบันดาลใจจากชื่อของนายโรนัลด์ เรแกน อดีตประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นบุคคลที่บิดาของโรนัลโดชื่นชอบตั้งแต่เรแกนยังเป็นนักแสดงอยู่ ครอบครัวของโรนัลโดอาศัยอยู่ที่ย่านกิงตาดูฟัลเซา เขตซังตูอังตอนีอูของเมืองฟุงชาล ซึ่งเป็นเขตที่มีประชากรยากจนอาศัยอยู่มาก โรนัลโดเริ่มเล่นฟุตบอลที่นี่ ซึ่งในตอนเด็กเขาจะชอบเล่นฟุตบอลมาก บริเวณตามถนน พอตอนเขาอายุ 6 ขวบ เขาเริ่มต้นเล่นฟุตบอลอย่างจริงจังในทีมชุดใหญ่ของทีมอังดูริญญา (Andorinha) โดยการชักชวนของญาติเขาที่อยู่ในทีมนี้ พอถึงปี พ.ศ. 2538 โรนัลโดย้ายไปอยู่กับทีมนาซีอูนัล (Nacional) โดยมีการจ่ายค่าตัวเป็นชุดฟุตบอลและลูกบอล ในช่วงที่โรนัลโดอายุ 8 ขวบ โรนัลโดได้เล่นให้กับสโมสรฟุตบอลอังดูริญญา ซึ่งพ่อของเขาเป็นผู้จัดการทีมของสโมสรแห่งนี้ ในปี ค.ศ. 1995 โรนัลโดได้ทำสัญญากับสโมสรฟุตบอลท้องถิ่นคือ สโมสรฟุตบอลนาซีอูนัล และได้เล่นให้กับสโมสรนี้เป็นเวลา 5 ปี แล้วได้ย้ายไปอยู่กับสปอร์ติกกลูบีดีปูร์ตูกาล (สปอร์ติงลิสบอน) ในช่วงปี ค.ศ. 1997 และได้สำเร็จการเล่นฟุตบอลเยาวชนให้กับในประเทศของตน ในปี ค.ศ. 2002 โรนัลโดในวัย 17 ปีได้ย้ายมาเล่นให้กับสปอร์ติกกลูบีดีปูร์ตูกาล (สปอร์ติงลิสบอน) เนื่องจากในช่วงนั้นสโมสรฟุตบอลชื่อดังในโปรตุเกสได้เห็นความสนใจของโรนัลโดมากแต่เขาเลือกที่จะมาอยู่กับ สปอร์ติงลิสบอน โดยโรนัลโดได้ลงเล่นเป็นตำแหน่งกองหน้า และได้มีโอกาสลงเล่นเป็นตัวจริงเยอะ โรนัลโดโชว์ฝีเท้าได้อย่างยอดเยี่ยมไม่ว่าจะเป็นการหลบหลีกคู่ต่อสู้ การแย่งชิงบอล การยิงจากระยะไกล และการทำประตูอย่างแม่นยำ ทำให้โรนัลโดในช่วงนั้นโด่งดังไปทั่วในทวีปยุโรป และโรนัลโดมีจุดเด่นที่มีทักษะในการครองบอลและมีความคล่องตัวสูง ด้วยจุดนี้เอง ทำให้เซอร์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน ผู้จัดการทีมชื่อดังของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดในพรีเมียร์ลีก ประเทศอังกฤษ ได้สนใจที่จะนำโรนัลโดมาร่วมทีม ซึ่งการเจรจาซื้อตัวโรนัลโดก็เป็นที่สำเร็จ โดยก่อนที่โรนัลโดจะออกจากประเทศโปรตุเกส โรนัลโดเล่นให้กับสปอร์ติกกลูบีดีปูร์ตูกาล ไปแล้วทั้งสิ้น 31 นัด ทำไป 5 ประตู โรนัลโดได้ย้ายมาอยู่กับสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดด้วยค่าตัว 12.5 ล้านปอนด์ ในฤดูกาล 2002–03 โรนัลโดใช้เวลาไม่นานนักในการปรับตัวให้เข้ากับพรีเมียร์ลีก และผลงาน 8 ประตู จากการลงสนาม 39 นัด ซึ่งรวมถึงประตูแรกในรอบชิงชนะเลิศเอฟเอ คัพกับมิลล์วอลล์ ก็ทำให้เขาได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (Sir Matt Busby Player of the Year) ประจำฤดูกาล 2003/04 โรนัลโดกับการพาทีมชาติโปรตุเกสผ่านเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศในศึกยูโร 2004 ก่อนพ่ายให้กับ กรีซ 0 - 1 ในฤดูกาลที่ 2 ของโรนัลโดกับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ฟอร์มไม่ดีเท่ากับปีแรก หลังจากที่จบฤดูกาลด้วยการลงสนาม 50 นัด แต่ทำได้แค่ 9 ประตู ในฤดูกาล 2005/06 โรนัลโดก็เรียกฟอร์มเก่งของตัวเองมาได้อีกครั้งในช่วงครึ่งฤดูกาลหลัง ด้วยการทำ 12 ประตู จากการลงสนาม 47 นัด โรนัลโดคว้ารางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยมของฟิฟโปร (FIFPro Special Young Player of the Year 2005) ซึ่งเป็นรางวัลเดียวที่ให้แฟน ๆ เป็นผู้ลงคะแนนโหวตตัดสิน และในปีเดียวกันเขาก็ได้อันดับที่ 20 ในตำแหน่งผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีของฟีฟ่าด้วย ในศึกฟุตบอลโลก 2006 โรนัลโดถูกแฟนบอลอังกฤษรุมโห่ไล่หลังจากที่มีส่วนทำให้เวย์น รูนีย์ เพื่อนร่วมทีมแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ต้องถูกไล่ออกในเกมที่อังกฤษพบกับโปรตุเกส โรนัลโดถูกสื่อในอังกฤษกดดันและต่อว่า อย่างไรก็ดีโรนัลโดยังคงเล่นให้กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เมษายน 2007 คริสเตียโน โรนัลโด คว้ารางวัลผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมและผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี 2007 ของสมาคมนักฟุตบอลอาชีพอังกฤษหรือพีเอฟเอไปครอง โดยเป็นผู้เล่นรายที่ 2 ในประวัติศาสตร์ที่สามารถคว้ารางวัลเกียรติยศทั้งสองมาครอบครองในเวลาเดียวกัน หลังโชว์ฟอร์มสุดยอดมาตลอดฤดูกาลนี้โดยก่อนหน้านี้ แอนดี เกรย์ เคยทำได้เมื่อปี 1977 หรือ ราว 30 ปีก่อน เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2009 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดยอมรับว่า ได้รับข้อเสนอการซื้อตัวจากสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดด้วยค่าตัว 80 ล้านปอนด์ ซึ่งก็ปรากฏว่าโรนัลโดก็มีความต้องการที่จะออกจากสโมสรเช่นกัน โดยเขาได้ตกลงย้ายออกไป การซื้อตัวครั้งนี้ถือเป็นสถิติค่าตัวแพงที่สุดในโลก โดยผลงานของโรนัลโดได้ลงเล่นเป็นตัวจริง 299 นัด ทำประตูได้ 118 ประตู ในวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2009 สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ได้ซื้อตัวโรนัลโดมาด้วยค่าตัวถึง 80 ล้านปอนด์ ซึ่งเป็นสถิติการซื้อนักฟุตบอลที่แพงที่สุดในโลกจากสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดในประเทศอังกฤษ เขาได้รับตำแหน่งสวมเสื้อหมายเลข 9 โดยในฤดูกาลนี้โรนัลโดทำผลงานได้อย่างยอดเยี่ยมโดยได้ลงเล่นเป็นตังจริงทั้งหมด ถึง 35 นัด ทำประตูไปได้ 33 ประตู ซึ่งครองดาวซัลโวสูงสุดของลาลีกา ในฤดูกาลนี้ โดยโรนัลโดได้ถูกเล่นในตำแหน่งกองหน้า และบางครั้งเขาอาจจะเล่นในตำแหน่งปีกขวา โรนัลโดทำประตูแรกตั้งแต่มาอยู่กับเรอัลมาดริดคือในนัดที่เจอกับสโมสรฟุตบอลอัตเลตีโกมาดริด โดยเรอัลมาดริดชนะไป 2-0 และในวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2009 โรนัลโดได้ยิงลูกฟรีคิกระยะใก้ลถึงสองครั้งในนัดที่เจอกับเอฟซี ซูริช โดยเรอัลมาดริดชนะไป 5-2 ในเกมยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกรอบแบ่งกลุ่ม พอเข้าสู่ฤดูกาลที่ 2 ของโรนัลโด เขาได้ถูกเปลี่ยนเบอร์ของเสื้อจากเบอร์ 9 เป็นเบอร์ 7 และได้เปลี่ยนผู้จัดการทีมมาเป็นโชเซ มูรีนโย ผู้จัดการทีมชาวโปรตุเกสที่รู้จักในตัวของโรนัลโดเป็นอย่างดี ในวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 2010 ในนัดที่เรอัลมาดริดเจอกับราซิงเดซานตันเดร์ โดยโรนัลโดทำประตูไปได้ถึง 4 ประตู ทำให้เรอัลมาดริดชนะไป 4-0 แล้วในนัดที่เจอกับ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา โดยเรอัลมาดริดไปเยือนที่กัมนอว์ แพ้ไป 5-0 ซึ่งโรนัลโดก็ได้มีจังหวะยิงหลายครั้ง แล้วหลังจากในนัดนั้น เรอัลมาดริดได้เปิดบ้านพบกับแอทเลติกบิลบาโอ โดยในนัดนั้นโรนัลโดเกือบทำแฮตทริกได้โดยเขายิงไป 5 ประตู ในช่วงเวลาต่างกันไม่เกิน 6 นาที ทำให้ชนะไป 6-1 และในช่วงปลายปี ค.ศ. 2010 เขาได้ทำเกือบทำซูเปอร์แฮตทริกเป็นครั้งแรกในตัวของเขาโดยในถ้วยโกปาเดลเรย์กับเลบันเตอูเด โดยโรนัลโดทำไป 5 ประตู และแฮตทริกของการีม แบนเซมา ทำให้เรอัลมาดริดชนะไป 8-0 ความสำเร็จและการพัฒนาของโรนัลโดในช่วงอยู่กับเรอัลมาดริดเริ่มดีขึ้น โดยโรนัลโดซัดประตูในฤดูกาลนี้ไป 60 ประตู (รวมทุกรายการ) และได้เล่นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกไปจนถึงรอบรองชนะเลิศ แต่ก็แพ้ สโมสรฟุตบอลบาเยิร์นมิวนิก ไป 3-1 (ดวลจุดโทษ) แต่โรนัลโดก็สามารถนำทีมได้แชมป์ลาลีกา ได้เป็นครั้งที่ 32 ของสโมสร โดยในช่วงปลายฤดูกาล เรอัลมาดริดกับบาร์เซโลนาได้แข่งขันกันที่กัมนอว์ ในนัดที่ 2 ซึ่งโรนัลโดก็เป็นฮีโรโดยเขาได้ยิงประตูชัยสุดสำคัญในการนำทีมเรอัลมาดริดคว้าแชมป์ลาลีกาด้วยการชนะสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ไป 2-1 ที่กัมนอว์ และจบอันดับ 1 ของตาราง และเป็นทีมแรกในประวัติศาสตร์ฟุตบอลของโลกที่ทำคะแนนได้ 100 คะแนน โรนัลโดได้ลงเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติโปรตุเกส นัดแรกที่โปรตุเกสชนะคาซัคสถาน ไป 1-0 ในวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 2003 โรนัลโดได้ถูกเรียกตัวไปไปเล่นในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004 ประตูแรกในนามทีมชาติชุดใหญ่ของเขาคือตอนที่โปรตุเกสชนะกรีซไป 2-1 ในรอบแบ่งกลุ่ม และจากนั้นก็ยิงประตูต่อในนัดรอบก่อนรองชนะเลิศที่โปรตุเกสเจอกับเนเธอร์แลนด์ ซึ่งโปรตุเกสชนะไป 2-1 เขาได้เป็นหนึ่งในผู้เล่นคนสำคัญของทีมนักฟุตบอลยอดเยี่ยมประจำแห่งฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปของการแข่งขันแม้จะยิงได้เพียงแค่ 2 ประตู.นอกจากนี้เขายังเป็นตัวแทนของทีมชาติโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 โรนัลโดได้เป็นรองดาวซัลโวในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก ในโซนยุโรปด้วยการยิงไป 7 ประตู และประตูแรกของเขาในฟุตบอลโลก คือนัดที่พบกับอิหร่าน ด้วยการยิงลูกโทษ เมื่อมาถึงรอบคัดเลือกรอบสุดท้าย ได้พบกับอังกฤษในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2006 โรนัลโดได้พบเพื่อนร่วมทีมจากแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ซึ่งก็คือ เวย์น รูนีย์ และรูนีย์ได้ไปทำฟาวล์ใส่กองหลังทีมชาติโปรตุเกสซึ่งคือ รีการ์ดู การ์วัลยู สื่ออังกฤษสันนิษฐานว่าโรนัลโดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้ตัดสินโอราซีโอ เอลีซอนโด โดยอุกอาจบ่นหลังจากที่เขาได้เห็นตรงม้านั่งสำรองของทีมชาติโปรตุเกสหลังจากการไล่รูนีย์ออก หลังการแข่งขันโรนัลโดยืนยันว่ารูนีย์เป็นเพื่อนของเขาและว่าเขาไม่ได้เป็นคนที่เกี่ยวกับการไล่รูนีย์ออกจากสนาม วันที่ 4 กรกฎาคม อริซอนโดได้บอกกับทางสื่อว่าการที่เขาแจกใบแดงให้รูนีย์เพราะเป็นการทำผิดของกฎฟุตบอลเท่านั้น ไม่ได้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรนัลโดเลย หนังสือพิมพ์ของประเทศอังกฤษ ได้ประกาศข่าวร้ายของโรนัลโดเนื่องจากในข่าวบอกว่าเขาจะออกจากสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดจากเหตุใบแดงของรูนีย์ และเขาได้ถูกกล่าวลงในหนังสือกีฬาประจำวันของประเทศสเปนว่าเขาจะย้ายไปอยู่กับเรอัลมาดริดและเมื่อเฟอร์กูสันผู้จัดการทีมได้ทราบเขาเลยส่งผู้ช่วยการ์ลุช ไกรอช เพื่อมาพูดคุยกับโรนัลโดเพื่อเปลี่ยนความคิดของเขาในการย้ายจากสโมสรเพราะเหตุการณ์ของรูนีย์ โรนัลโดตัดสินใจอยู่กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด และทำสัญญาใหม่ของเขาเป็นเวลา 5 ปี ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 โรนัลโดถูกโห่ในระหว่างการแข่งขันโปรตุเกสกับฝรั่งเศสในรอบก่อนรองชนะเลิศซึ่งโปรตุเกสได้แพ้ไป และพลาดรางวัลผู้เล่นของการแข่งขันที่ดีที่สุด. แม้ว่าการโหวตออนไลน์รับผลกระทบเพียงกระบวนการสรรหา กลุ่มศึกษาทางเทคนิคของฟีฟ่าได้รับรางวัลเกียรติยศของเยอรมนีไปให้ลูคัส โพดอลสกี โดยอ้างว่าพฤติกรรมของโรนัลโดเป็นปัจจัยในการตัดสินใจ ด้วยความสามารถและความโด่งดัง จึงมีเอเย่นต์สนใจเขามาเป็นพรีเซนเตอร์อยู่หลายชิ้น ภาพลักษณ์ของโรนัลโดสร้างความสำเร็จให้กับการตลาดมหาศาล ไม่ว่าจะเป็นวิดีโอเกมต่าง ๆ ไปจนโทรศัพท์มือถือ นอกจากนี้ความหล่อเหลาของเขาก็ยังทำให้เขาได้รับการติดต่อจากนิตยสารแฟชั่นอีกด้วย นิตยสารโวกของอเมริกา นำเสนอเขาไปเป็นแบบปก และเขายังเป็นพรีเซนเตอร์ให้ผลิตภัณฑ์รองเท้ากีฬาอย่าง ไนกี้ โดยทางไนกี้เล็งเห็นว่าโรนัลโดมีฝีเท้าที่เป็นนักเตะที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก จึงได้คุยกับโรนัลโดเพื่อผลิตรองเท้าที่เบา พัฒนารองเท้า รองเท้ารุ่น Mercurial Vapor ออกมา พ่อของโรนัลโดเป็นผู้อำนวยการสโมสรฟุตบอลเล็ก ๆ ที่ชื่ออังดูริญญา และพ่อเขาขอให้กัปตันทีมที่ชื่อฟือร์เนา โซซา (Fernão de Sousa) เป็นพ่อทูนหัว ส่วนแม่ของเขามีอาชีพเป็นแม่ครัว โรนัลโดช่วยเหลือครอบครัวเป็นอย่างดี ช่วยพี่สาวคนโตเปิดร้านขายเสื้อผ้าที่เกาะมาเดรา ส่วนพี่สาวอีกคน กาเตีย เป็นนักร้อง มีวงดนตรีชื่อ "Ronalda" โรนัลโดประกาศว่าเขาได้กลายเป็นพ่อคนแล้ว เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 2010 โดยประกาศในเฟซบุ๊กและทวิตเตอร์อย่างเป็นทางการของเขา โดยพูดว่า เขาได้ลูกชายและต้องการความเป็นส่วนตัว โดยลูกชายของเขาชื่อว่าคริสเตียโน โรนัลโดย จูเนียร์ ที่กำเนิดมาจากหญิงนิรนาม โดยเขาได้รับสิทธิในการดูแลเด็กอย่างสมบูรณ์ ภายใต้การดูแลจากแม่ของโรนัลโดและพี่สาว นอกจากนี้แล้ว โรนัลโดยังได้รับคำชื่นชมจากอาร์โนลด์ ชวาร์เซเน็กเกอร์ นักแสดงระดับซุปเปอร์สตาร์ของฮอลลีวุด ซึ่งเป็นอดีตสุดยอดนักเพาะกายโลก 7 สมัย ว่า เป็นนักฟุตบอลที่มีรูปร่างสมบูรณ์แบบที่สุดอีกด้วย ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ณ วันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2015 ประกอบด้วย Taça de Portugal, เอฟเอคัพ และ โกปาเดลเรย์ ประกอบด้วย เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์, ยูฟ่าซูเปอร์คัพ, ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก และ ซูเปร์โกปาเดเอสปาญา ลงเล่นหนึ่งครั้งใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, ลงเล่นสองครั้งใน ยูฟ่าคัพ รวมการลงเล่นทั้งหมดใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ลงเล่นใน เอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ รวมการลงเล่นทั้งหมดใน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ณ วันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015. แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด พรีเมียร์ลีก (3): 2006–07, 2007–08, 2008–09 เอฟเอคัพ (1): 2003–04 ลีกคัพ (2): 2005–06, 2008–09 เอฟเอคอมมูนิตีชีลด์ (1): 2007 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (1): 2007–08 ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (1): 2008 เรอัลมาดริด ลาลีกา (1): 2011–12 โกปาเดลเรย์ (1): 2010–11, 2013-2014 ซูเปร์โกปาเดเอสปาญา (1): 2012 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก(1): 2013-14 ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (1): 2014 ทีมชาติโปรตุเกส ฟุตบอลโลก: อันดับที่ 4 (1): 2006 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป: รองชนะเลิศ (1): 2004 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป: ชนะเลิศ (1): 2016 ทีมชาติยอดเยี่ยมในศึกยูโร (2): 2004, 2012 บราโวอะวอร์ด (1): 2004 นักฟุตบอลดาวรุ่งในฟีฟ่าโปรประจำปี (2): 2004, 2005 นักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยมของพีเอฟเอ (1): 2006–07 นักฟุตบอลยอดเยี่ยมประจำปีของเซอร์แมตต์ บัสบี (3): 2003–04, 2006–07, 2007–08 นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของพีเอฟเอ (2): 2006–07, 2007–08 นักเตะยอดเยี่ยมจากแฟนบอลของพีเอฟเอ (2): 2006–07, 2007–08 นักเตะยอดเยี่ยมจากนักข่าวของพีเอฟเอ (2): 2006–07, 2007–08 นักเตะยอดเยี่ยมประจำฤดูกาลพรีเมียร์ลีก (2): 2006–07, 2007–08 นักเตะยอดเยี่ยมประจำปีพรีเมียร์ลีก (4): November 2006, December 2006, January 2008, March 2008 พรีเมียร์ลีกโกลเดนบูต (1): 2007–08 บาร์คลีส์เมริตอะวอร์ด (1): 2007–08 ดาวซัลโวของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (1): 2007–08 กองหน้ายอดเยี่ยมของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก (1): 2007–08 นักฟุตบอลยอดเยี่ยมประจำสโมสรในยูฟ่า (1): 2007–08 ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ลูกบอลสีเงิน (1): 2008 แมนออฟเดอะแมตช์ประจำปี 2008 (1): Czech Republic vs Portugal นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของทวีปยุโรป (1): 2008 นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี (1): 2008 นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของโลกแห่งปี (ฟีฟ่าโปร) (1): 2008 Onze d'Or (1): 2008 World Soccer Player of the Year (1): 2008 PFA Premier League Team of the Year (4): 2005–06, 2006–07, 2007–08, 2008–09 FIFA Puskás Award (1): 2009 European Golden Shoe (2): 2007–08, 2010–11 CNID Best Portuguese Athlete Abroad (4): 2007, 2008, 2009, 2011 ทีมแห่งปีของยูฟ่า (6): 2003–04, 2006–07, 2007–08, 2008–09, 2009–10, 2010–11 ฟีฟ่า ฟิฟโปร เวิลด์ (5): 2007, 2008, 2009, 2010, 2011 แมนออฟเดอแมตช์ฟุตบอลโลกปี 2010 (3): Côte d'Ivoire vs Portugal, Portugal vs Korea DPR, Portugal vs Brazil ดาวซัลโวประจำลาลีกา (1): 2010–11 ดาวซัลโวโกปาเดลเรย์ (1): 2010–11 Trofeo Alfredo Di Stéfano (1): 2011–12 European Sports Magazines (4): 2006–07, 2007–08, 2010–11, 2011–12 แมนออฟเดอะแมตช์ปี 2012 (2): Portugal vs Netherlands, Czech Republic vs Portugal ดาวซัลโวประจำปี 2012 (1): 2012 "Cristiano Ronaldo (CR7)". realmadrid.com. Real Madrid. สืบค้นเมื่อ 22 March 2014.  "Cristiano Ronaldo". fpf.pt. Portuguese Football Federation. สืบค้นเมื่อ 8 October 2015.  "Ronaldo agrees six-year Real deal". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 26 June 2009. สืบค้นเมื่อ 27 June 2009.  "Cristiano Ronaldo to become third youngest footballer in Europe to reach 100 caps". http://www.telegraph.co.uk/. สืบค้นเมื่อ 17 October 2012.  "Ronaldo becomes first sportsman to get 50m Facebook 'likes'". http://ibnlive.in.com/. สืบค้นเมื่อ 17 October 2012.  สาวโหวต “หนูโด้” เทพบุตรยูโร 2008 สุดยอด!โด้คว้านักกีฬาอิเบโร่-อเมริกันแห่งปี "CRISTIIANO RONALDO TEM BISAVÓ CABO-VERDIANA". Liberal Online (ใน Portuguese). สืบค้นเมื่อ 29 June 2011.  Duncan White. "Ronaldo holds back the tears", Telegraph.co.uk, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2549 วีซีดี สารคดี Cristiano Ronaldo - The Boy Who Had A Dream ผลิตโดย ITV ในปี 2007 MSN Football: คริสเตียโน่ โรนัลโด "คริสเตียโน โรนัลโด"คว้ารางวัลผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม 07 ข่าวจากสำนักข่าวเนชั่น หนูโด้ไปแล้ว! ผีโอเคขาย80ล้านป. "Lucky rebound gives Portugal narrow win over Kazakhstan". China Daily. สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  "Fans Can Get Best Out Of Ronaldo". 4thegame.com. สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  Ames, Paul (14 June 2004). "Euro 2004 roundup: Greece stuns Portugal 2–1". USA Today. สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  Kevin McCarra in Lisbon (1 July 2004). "Portugal have the final word". Guardian (UK). สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  "Cristiano Ronaldo's profile". 4thegame.com.  "Ronaldo is chosen for the Olympics". CNN. 21 July 2004. สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  Wallace, Sam (24 July 2004). "Ronaldo keen to play at Olympics". The Daily Telegraph (UK). สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  "Portugal Vs Iran match". FIFA.com (Fédération Internationale de Football Association). 17 June 2006. สืบค้นเมื่อ 3 July 2012.  Tim Spanton (2 July 2006). "Ronaldo: I never asked for Rooney red card". The Sun. สืบค้นเมื่อ 10 July 2006.  "Ronaldo cleared over Rooney red card". Soccernet. 4 July 2006. สืบค้นเมื่อ 17 November 2006.  "Ronaldo intends to leave Man Utd". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 8 July 2006. สืบค้นเมื่อ 8 July 2006.  "Cristiano Ronaldo plans Real move". Reuters. 28 June 2006. สืบค้นเมื่อ 10 July 2006.  "Ferguson sends Man Utd No2 Queiroz to Ronaldo meeting". TribalFootball. 11 July 2006. Archived from the original on 19 July 2006. สืบค้นเมื่อ 11 July 2006.  "Rooney pleads with Ronaldo not to quit Man Utd". TribalFootball. 9 July 2006. Archived from the original on 21 July 2006. สืบค้นเมื่อ 11 July 2006.  "Ronaldo signs new deal at Man Utd". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 13 April 2007. สืบค้นเมื่อ 2 January 2010.  Chick, Alex (6 July 2006). "Scolari's fortunes take a dive". ESPNsoccernet. ESPN. สืบค้นเมื่อ 25 August 2010.  "Supporters 'hijack' Ronaldo vote". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 6 July 2006. สืบค้นเมื่อ 10 July 2006.  "Podolski beats Ronaldo to award". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 7 July 2006. สืบค้นเมื่อ 10 July 2006.  Nike Mercurial Vapor SL, new Cristiano Ronaldo boots Adrian Butler (July 18, 2010). "Ronaldo's baby mama is revealed". Sunday Mirror. สืบค้นเมื่อ July 18, 2010.  "Baby 'joy' for Cristiano Ronaldo". BBC Online. 4 July 2010. สืบค้นเมื่อ 4 July 2010.  "Cristiano Ronaldo and Irina Shayk put on a united front after claims he has been texting glamour model Rhian Sugden". London: The Daily Mail. August 23, 2010. สืบค้นเมื่อ September 8, 2010.  หน้า SPORT 23, 'คนเหล็ก' ซูฮกโรนัลโด้ สุดยอดนักเตะหุ่นเพอร์เฟกต์. M 2 F ฉบับที่ 494: จันทร์ที่ 14 ตุลาคม 2556 "Cristiano Ronaldo". footballzz.co.uk. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  "Cristiano Ronaldo". StretfordEnd.co.uk. สืบค้นเมื่อ 28 December 2013.  "Cristiano Ronaldo: Cristiano Ronaldo Dos Santos Aveiro: 2009–10". BDFutbol. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  "Cristiano Ronaldo: Cristiano Ronaldo Dos Santos Aveiro: 2010–11". BDFutbol. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  "Cristiano Ronaldo: Cristiano Ronaldo Dos Santos Aveiro: 2011–12". BDFutbol. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  "Cristiano Ronaldo: Cristiano Ronaldo Dos Santos Aveiro: 2012–13". BDFutbol. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  "Cristiano Ronaldo: Cristiano Ronaldo Dos Santos Aveiro: 2013–14". BDFutbol. สืบค้นเมื่อ 27 August 2014.  "Cristiano Ronaldo". Soccerway. สืบค้นเมื่อ 15 May 2013.  Mamrud, Roberto (29 August 2013). "Cristiano Ronaldo dos Santos Aveiro – Century of International Appearances". Rec.Sport.Soccer Statistics Foundation. สืบค้นเมื่อ 25 December 2013.  Ronaldo คริสเตียโน โรนัลโด เว็บไซต์ National-Football-Teams.com (อังกฤษ) Cristiano Ronaldo Fanpage CristianoR7 Excellent web about the best player of the Premier League บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก คริสเตียโน โรนัลโด โรนัลโดขณะเล่นให้กับ เรอัลมาดริด ในปี ค.ศ.2015 ข้อมูลส่วนบุคคล ชื่อเต็ม กริชเตียนู รูนัลดู ดุช ซังตุช อาไวรู วันเกิด 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1985 (32 ปี) สถานที่เกิด ฟุงชาล, มาเดรา, โปรตุเกส ส่วนสูง 1.85 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว) ตำแหน่ง กองหน้า ข้อมูลสโมสร สโมสรปัจจุบัน เรอัลมาดริด หมายเลข 7 สโมสรเยาวชน 1993–1995 อังดูริญญา 1995–1997 นาซีอูนัล 1997–2002 สปอร์ติงลิสบอน สโมสรอาชีพ* ปี ทีม ลงเล่น† (ประตู)† 2002–2003 สปอร์ติงลิสบอน 25 (3) 2003–2009 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 196 (84) 2009– เรอัลมาดริด 210 (233) ทีมชาติ‡ 2001 โปรตุเกส U15 9 (7) 2001–2002 โปรตุเกส U17 7 (5) 2002–2003 โปรตุเกส U21 5 (1) 2003 โปรตุเกส U20 10 (3) 2004 โปรตุเกส U23 3 (2) 2003– โปรตุเกส 123 (55) * นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2015 † ลงเล่น (ประตู) ‡ นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้ทีมชาติ ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 คริสเตียโน โรนัลโด: International goals # วันที่ สถานที่ คู่แข่ง ประตู ผล รายการ 1 12 มิถุนายน 2004 โปร์ตู, โปรตุเกส  กรีซ 1–2 1–2 ยูโร 2004 2 30 มิถุนายน 2004 เอสตาดีอู ฌูแซ อัลวาลาดึ, ลิสบอน, โปรตุเกส  เนเธอร์แลนด์ 1–0 2–1 ยูโร 2004 3 4 กันยายน 2004 สคอนโตสเตเดียม, รีกา, ลัตเวีย  ลัตเวีย 0–1 0–2 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 4 8 กันยายน 2004 เอสตาดีอู ดร. มากัลไยช์ เปซัว, ไลรีอา, โปรตุเกส  เอสโตเนีย 1–0 4–0 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 5 13 ตุลาคม 2004 เอสตาดีโอ ฌูแซ อัลวาลาดึ, ลิสบอน, โปรตุเกส  รัสเซีย 2–0 7–1 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 6 13 ตุลาคม 2004 เอสตาดีโอ ฌูแซ อัลวาลาดึ, ลิสบอน, โปรตุเกส  รัสเซีย 4–0 7–1 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 7 17 พฤศจิกายน 2004 ชตาเดอ โยซี บาร์เทิล, ลักเซมเบิร์ก, ลักเซมเบิร์ก  ลักเซมเบิร์ก 0–2 0–5 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 8 4 มิถุนายน 2005 อิสตาจีอูดาลูซ, ลิสบอน, โปรตุเกส  สโลวาเกีย 2–0 2–0 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 9 8 มิถุนายน 2005 เอ. เลอก็อกอารีนา, Tallinn, เอสโตเนีย  เอสโตเนีย 0–1 0–1 ฟุตบอล 2006 รอบคัดเลือก 10 1 มีนาคม 2006 เอลเทอู อาเรนา, ดึสเซลดอร์ฟ, เยเรอมนี  ซาอุดีอาระเบีย 0–1 0–3 กระชับมิตร 11 1 มีนาคม 2006 เอลเทอู อาเรนา, ดึสเซลดอร์ฟ, เยอรมนี  ซาอุดีอาระเบีย 0–3 0–3 กระชับมิตร 12 17 มิถุนายน 2006 วัลด์สตาเดชัน, แฟรงก์เฟิร์ต, เยอรมนี  อิหร่าน 2–0 2–0 ฟุตบอลโลก 2006 13 7 ตุลาคม 2006 เอสตาดีอูดูเบซา, โปร์ตู, โปรตุเกส  อาเซอร์ไบจาน 1–0 3–0 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 14 7 ตุลาคม 2006 เอสตาดีอูดูเบซา, โปร์ตู, โปรตุเกส  อาเซอร์ไบจาน 3–0 3–0 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 15 15 พฤศจิกายน 2006 Estádio Cidade de Coimbra, กูอิงบรา, โปรตุเกส  คาซัคสถาน 2–0 3–0 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 16 24 March 2007 Estádio José Alvalade, Lisbon, Portugal  เบลเยียม 2–0 4–0 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 17 24 March 2007 Estádio José Alvalade, Lisbon, Portugal  เบลเยียม 4–0 4–0 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 18 22 August 2007 Hanrapetakan Stadium, Yerevan, Armenia  อาร์มีเนีย 1–1 1–1 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 19 8 September 2007 Estádio da Luz, Lisbon, Portugal  โปแลนด์ 2–1 2–2 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 20 17 October 2007 Almaty Central Stadium, Almaty, Kazakhstan  คาซัคสถาน 0–2 1–2 ยูโร 2008 รอบคัดเลือก 21 11 June 2008 Stade de Genève, Geneva, Switzerland  เช็กเกีย 1–2 1–3 ยูโร 2008 22 11 February 2009 Estádio Algarve, Faro, Portugal  ฟินแลนด์ 1–0 1–0 กระชับมิตร 23 21 June 2010 Cape Town Stadium, Cape Town, South Africa  เกาหลีเหนือ 6–0 7–0 2010 World Cup 24 8 October 2010 Estádio do Dragão, Porto, Portugal  เดนมาร์ก 3–1 3–1 Euro 2012 Qualification 25 12 October 2010 Laugardalsvöllur, Reykjavík, Iceland  ไอซ์แลนด์ 0–1 1–3 Euro 2012 Qualification 26 9 February 2011 Stade de Genève, Geneva, Switzerland  อาร์เจนตินา 1–1 2–1 Friendly 27 10 August 2011 Estádio Algarve, Faro, Portugal  ลักเซมเบิร์ก 2–0 5–0 Friendly 28 2 September 2011 GSP Stadium, Nicosia, Cyprus  ไซปรัส 0–1 0–4 Euro 2012 Qualification 29 2 September 2011 GSP Stadium, Nicosia, Cyprus  ไซปรัส 0–2 0–4 Euro 2012 Qualification 30 11 October 2011 Parken Stadium, Copenhagen, Denmark  เดนมาร์ก 2–1 2–1 Euro 2012 Qualification 31 15 November 2011 Estádio da Luz, Lisbon, Portugal  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1–0 6–2 Euro 2012 Qualification play-offs 32 15 November 2011 Estádio da Luz, Lisbon, Portugal  บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 3–1 6–2 Euro 2012 Qualification play-offs 33 17 June 2012 Metalist Stadium, Kharkiv, Ukraine  เนเธอร์แลนด์ 1–1 2–1 Euro 2012 34 17 June 2012 Metalist Stadium, Kharkiv, Ukraine  เนเธอร์แลนด์ 2–1 2–1 Euro 2012 35 21 June 2012 National Stadium, Warsaw, Warsaw, Poland  เช็กเกีย 0–1 0–1 Euro 2012 36 15 August 2012 Estádio Algarve, Faro, Portugal  ปานามา 2–0 2–0 Friendly 37 7 September 2012 Stade Josy Barthel, Luxembourg, Luxembourg  ลักเซมเบิร์ก 1–1 1–2 2014 World Cup Qualification สถิติสโมสร สโมสร ฤดูกาล ลีก ฟุตบอลถ้วย ลีกคัพ ยุโรป อื่นๆ รวม ดิวิชัน ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู สปอร์ติงลิสบอน 2002–03 ปรีไมราลีกา 25 3 3 2 — 3 0 0 0 31 5 รวม 25 3 3 2 — 3 0 0 0 31 5 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2003–04 พรีเมียร์ลีก 29 4 5 2 1 0 5 0 0 0 40 6 2004–05 33 5 7 4 2 0 8 0 0 0 50 9 2005–06 33 9 2 0 4 2 8 1 — 47 12 2006–07 34 17 7 3 1 0 11 3 — 53 23 2007–08 34 31 3 3 0 0 11 8 1 0 49 42 2008–09 33 18 2 1 4 2 12 4 2 1 53 26 รวม 196 84 26 13 12 4 55 16 3 1 292 118 เรอัลมาดริด 2009–10 ลาลีกา 29 26 0 0 — 6 7 — 35 33 2010–11 34 40 8 7 — 12 6 — 54 53 2011–12 38 46 5 3 — 10 10 2 1 55 60 2012–13 34 34 7 7 — 12 12 2 2 55 55 2013–14 30 31 6 3 — 11 17 — 47 51 2014–15 35 48 2 1 — 12 10 5 2 54 61 2015–16 10 8 0 0 — 4 5 — 14 13 รวม 210 233 28 21 — 67 67 9 5 314 326 รวมทั้งหมด 431 320 57 36 12 4 125 83 12 6 637 449 ทีมชาติ ปี ลงเล่น ประตู โปรตุเกส 2003 2 0 2004 16 7 2005 11 2 2006 14 6 2007 10 5 2008 8 1 2009 7 1 2010 11 3 2011 8 7 2012 13 5 2013 9 10 2014 9 5 2015 5 3 รวม 123 55 คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: คริสเตียโน โรนัลโด ก่อนหน้า คริสเตียโน โรนัลโด ถัดไป เวย์น รูนีย์ นักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยมของพีเอฟเอ (พ.ศ. 2550) ยังดำรงตำแหน่ง สตีเวน เจอร์ราร์ด นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของพีเอฟเอ (พ.ศ. 2550) ยังดำรงตำแหน่ง กาก้า นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของฟิฟโปร (พ.ศ. 2551) ยังดำรงตำแหน่ง กาก้า นักฟุตบอลยอดเยี่ยมของฟีฟ่า (พ.ศ. 2551) ยังดำรงตำแหน่ง กาก้า รางวัลรองเท้าทองคำ (พ.ศ. 2551) ยังดำรงตำแหน่ง โรนัลโดในนัดที่เจอกับเชลซีในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 2006 โรนัลโดเล่นให้กับ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดในช่วงฤดูกาล 2006-07 โรนัลโดกำลังเลี้ยงลูกฟุตบอลหนีเดียโก ฟอร์ลัน ในนัดที่เจอกับ สโมสรฟุตบอลอัตเลตีโกมาดริด ในช่วงฤดูกาล 2009-10 โรนัลโดกับแกเร็ธ เบล ในนัดยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2010-11 โรนัลโดลงเล่นในนัดที่เจอกับบราซิล โรนัลโดกำลังลงเล่นให้กับทีมชาติโปรตุเกส โรนัลโดน (ซ้าย) ขณะเล่นให้กับทีมชาติโดยพบกับ อาร์เจนตินา ใน เจนีวา, สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 โรนัลโดกับลิโอเนล เมสซี, ในเดือนกุมภาพันธ์ 2011 มณฑลซานตง ========= มณฑลซานตง (จีนตัวย่อ: 山东省; จีนตัวเต็ม: 山東省; พินอิน: Shāndōng shěng ซานตงเสิ่ง) ใช้ตัวย่อว่า 鲁 (หลู่) ที่มาของชื่อมณฑลซานตงมาจากคำว่า ซาน (山, shān) ที่หมายถึงภูเขา และคำว่า ตง (东, dōng) ที่หมายถึงทิศตะวันออก มณฑลซานตงมีเมืองหลวง (เมืองใหญ่สุด) คือเมืองจี๋หนาน มณฑลนี้มีเนื้อที่ 156,700 ตารางกิโลเมตร (อันดับที่ 20 ของจีน) แต่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของจีน คือประมาณ 91,800,000 คน (2004) มีความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 586 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ 5 ของจีน ตัวเลข GDP รวมในปี พ.ศ. 2547 สูงถึงประมาณ 1.55 ล้านล้านดอลลาร์ เป็นมณฑลที่ทำเงินได้มากเป็นอันดับสองของจีน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนชาติฮั่น (Han) ซึ่งมีมากถึง 99.3% มณฑลซานตง (จีนตัวย่อ: 山东省; จีนตัวเต็ม: 山東省; พินอิน: Shāndōng shěng ซานตงเสิ่ง) ใช้ตัวย่อว่า 鲁 (หลู่) ที่มาของชื่อมณฑลซานตงมาจากคำว่า ซาน (山, shān) ที่หมายถึงภูเขา และคำว่า ตง (东, dōng) ที่หมายถึงทิศตะวันออก มณฑลซานตงมีเมืองหลวง (เมืองใหญ่สุด) คือเมืองจี๋หนาน มณฑลนี้มีเนื้อที่ 156,700 ตารางกิโลเมตร (อันดับที่ 20 ของจีน) แต่มีประชากรมากเป็นอันดับสองของจีน คือประมาณ 91,800,000 คน (2004) มีความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 586 คนต่อตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นมากเป็นอันดับ 5 ของจีน ตัวเลข GDP รวมในปี พ.ศ. 2547 สูงถึงประมาณ 1.55 ล้านล้านดอลลาร์ เป็นมณฑลที่ทำเงินได้มากเป็นอันดับสองของจีน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนชาติฮั่น (Han) ซึ่งมีมากถึง 99.3% มณฑลซานตงมีพื้นที่ติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ มณฑลเหอเป่ย์ ประเทศจีน และทะเลเหลือง ทิศใต้ ติดต่อกับ มณฑลอานฮุย และมณฑลเจียงซู ประเทศจีน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทะเลเหลือง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ชื่อย่อ: 鲁 (หลู่) ชื่อเรียก มณฑลซานตง ภาษาไทย มณฑลซานตง ภาษาจีน - อักษรจีนตัวย่อ 山东省 - อักษรจีนตัวเต็ม 山東省 - พินอิน Shāndōng Shěng อักษรโรมัน Shandong ข้อมูลทั่วไป ความหมายของชื่อ 山 ซาน - ภูเขา (ปัจจุบันอยู่ในมณฑลเหอหนาน) 东 ตง - ตะวันออก ตะวันออกของภูเขา ประเภทเขตปกครอง มณฑล เมืองเอก จี่หนาน เลขาธิการพรรค Li Jianguo (李建国) ผู้ว่าการ Jiang ต้าหมิง (姜大明) พื้นที่ 156,700 ตร.กม. (อันดับที่ 20) ประชากร (ข้อมูลปี พ.ศ. 2547) - จำนวน 91,800,000 (อันดับที่ 2) - ความหนาแน่น 586 คน/ตร.กม. (อันดับที่ 5) GDP (พ.ศ. 2547) 1,549 พันล้านเหรินหมินปี้ (อันดับที่ 2) - ต่อหัว 16,900 เหรินหมินปี้ (อันดับที่ 8) HDI (พ.ศ. 2548) 0.776 ปานกลาง (อันดับที่ 11) กลุ่มชาติพันธุ์ ฮั่น - 99.3 % หุย - 0.6 % จำนวนจังหวัด 17 จำนวนเมือง/อำเภอ 140 จำนวนตำบล 1,941 ISO 3166-2 CN-37 เว็บไซต์ http://www.sd.gov.cn/ บทความนี้มีข้อความภาษาจีน หากไม่มีการสนับสนุนเรนเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่องหรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักษรจีน โรสแมรี ======= สำหรับความหมายอื่น ดูที่ โรสแมรี (แก้ความกำกวม) โรสแมรี (อังกฤษ: Rosemary; Rosmarinus officinalis) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองของแถบเมดิเตอร์เรเนียน จัดอยู่ในวงศ์กะเพรา ใบมีรูปร่างคล้ายเข็ม ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 2-5 มิลลิเมตร มีกลิ่นหอม และเขียวอยู่ตลอดปี ด้านบนของใบมีสีเขียว ด้านท้องใบเป็นสีขาวและมีขนปกคลุม ดอกมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีม่วง หรือสีฟ้า ใช้ปรุงอาหารทำให้มีกลิ่นหอม สำหรับความหมายอื่น ดูที่ โรสแมรี (แก้ความกำกวม) โรสแมรี (อังกฤษ: Rosemary; Rosmarinus officinalis) เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองของแถบเมดิเตอร์เรเนียน จัดอยู่ในวงศ์กะเพรา ใบมีรูปร่างคล้ายเข็ม ยาว 2-4 เซนติเมตร กว้าง 2-5 มิลลิเมตร มีกลิ่นหอม และเขียวอยู่ตลอดปี ด้านบนของใบมีสีเขียว ด้านท้องใบเป็นสีขาวและมีขนปกคลุม ดอกมีหลายสี เช่น สีขาว สีชมพู สีม่วง หรือสีฟ้า ใช้ปรุงอาหารทำให้มีกลิ่นหอม ลำต้น ดอก ลำต้น เมล็ด ลำต้น ลำต้น ดอก ขนาดของลำต้น Rosmarinus officinalis - Museum specimen บทความเกี่ยวกับพืชนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:พรรณพฤกษา โรสแมรี ดอกโรสแมรี สถานะการอนุรักษ์ ปลอดภัยจากการคุกคาม การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: พืช (Plantae) หมวด: พืชดอก (Magnoliophyta) ชั้น: พืชใบเลี้ยงคู่ (Magnoliopsida) อันดับ: Lamiales วงศ์: วงศ์กะเพรา Labiatae สกุล: สกุลโรสแมรี Rosmarinus สปีชีส์: R.  officinalis ชื่อทวินาม Rosmarinus officinalis L. ด พ ก สมุนไพรและเครื่องเทศ   สมุนไพร Angelica กะเพรา โหระพา ใบกระวาน Bay leaf, Indian (tejpat) Boldo Borage เชอร์วิล Chives กุยช่าย Cicely ผักชี Coriander, Bolivian ผักแพว ผักชีฝรั่ง เทียนแดง Curry leaf ผักชีลาว Epazote Hemp Hoja santa คาวทอง Hyssop Jimbu Kinh gioi (Vietnamese balm) ลาเวนเดอร์ สะระแหน่ ตะไคร้ Lemon myrtle Lemon verbena ผักแขยง Lovage Marjoram มินต์ Mugwort Mitsuba ออริกาโน พาร์สลีย์ Perilla โรสแมรี Rue Sage Savory Sanshō (leaf) ชิโซะ Sorrel Tarragon Thyme Woodruff   เครื่องเทศ Aonori (ground seaweed) Ajwain (bishop's weed) ออลสไปซ์ Amchoor (mango powder) เทียนสัตตบุษย์ โป๊ยกั้ก มหาหิงคุ์ การบูร เทียนตากบ กระวาน/กระวานเทศ กระวานไทย อบเชยจีน ขึ้นฉ่าย มะม่วงหัวแมงวัน Chenpi อบเชย กานพลู ผักชี Cubeb ยี่หร่า เทียนดำ Bunium persicum ผักชีลาว ผักชีล้อม ลูกซัด (พืช) กระชาย ข่า (พืช) Galangal, lesser กระเทียม ขิง เปราะหอม Golpar Grains of Paradise Grains of Selim Horseradish Juniper berry Kokum Korarima Lime, black ชะเอมเทศ Litsea cubeba จันทน์เทศ Mango-ginger Mahlab Mustard, black Mustard, brown Mustard, white Nigella (kalonji) Njangsa Pepper, alligator Pepper, Brazilian Pepper, chili Cayenne pepper Paprika Pepper, long Pepper, Peruvian Pepper, East Asian Pepper, Sichuan (huājiāo) Sanshō (berries, ground powder) Pepper, Tasmanian พริกไทย ทับทิม (ผลไม้) เมล็ดฝิ่น Radhuni กุหลาบมอญ หญ้าฝรั่น เกลือ Sarsaparilla Sassafras งา (พืช) Shiso (seeds, berries) Sumac มะขาม Tonka bean ขมิ้น Uzazi วานิลลา Voatsiperifery วาซาบิ Yuzu (zest) ขมิ้นอ้อย Zereshk Zest อำเภอพนัสนิคม ============= อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา อำเภอพนัสนิคม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา อำเภอพนัสนิคมตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดชลบุรี ห่างจากตัวจังหวัดไปทางตะวันออกประมาณ 22 กิโลเมตรตามเส้นทางถนนศุขประยูร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอแปลงยาวและอำเภอบ้านโพธิ์ (จังหวัดฉะเชิงเทรา) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเกาะจันทร์ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบ่อทองและอำเภอบ้านบึง ทิศตะวันตก จรดอำเภอพานทอง อนึ่งอาณาเขตเมืองพนัสนิคมเดิมนั้น มีพื้นที่ครอบคลุมอำเภออื่นๆในปัจจุบันของจังหวัดชลบุรี ดังนี้ บ้านท่าตะกูด เดิมขึ้นอยู่กับพนัสนิคม ก่อนจัดตั้งเป็นอำเภอท่าตะกูด และเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอพานทอง ตำบลคลองพลู เดิมขึ้นอยู่กับพนัสนิคม ก่อนที่จะโอนมาขึ้นกับอำเภอบ้านบึงเมื่อ พ.ศ. 2418 และได้ยกฐานะเป็นอำเภอหนองใหญ่ ตำบลบ่อทอง เดิมขึ้นอยู่กับพนัสนิคม โดยต่อมาได้ยกฐานะเป็นอำเภอบ่อทอง เมื่อ พ.ศ. 2528 ตำบลเกาะจันทร์ และตำบลท่าบุญมี เดิมขึ้นอยู่กับพนัสนิคม โดยต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นอำเภอเกาะจันทร์ เมื่อ พ.ศ. 2550 ช่วงชุมชนเก่าสุดที่พบในพนัสนิคม อยู่บ้านโคกพนมดี ตำบลท่าข้าม มีอายุราว 3,000 ปี โดยนักโบราณคดีขุดพบโครงกระดูกเจ้าแม่ (หมอผี, หัวหน้าเผ่า) มีลูกปัดนับแสนเม็ดฝังรวมอยู่ ช่วงเมืองเก่าสมัยทวารวดี มีอายุราว 1,500 ปี อยู่ในตำบลหน้าพระธาตุ ต่อมาเรียกสมัยหลังว่าเมืองพระรถ (ชื่อสมมุติจากรถเสนฃาดกในปัญญาสชาดก เป็นที่แพร่หลายในชาวลาว) อายุอยู่ในราวหลัง พ.ศ. 1000 เมืองโบราณยุคทวารวดีที่พนัสนิคมนี้ได้ลดความสำคัญลงและในที่สุดรกร้างไปราวหลัง พ.ศ. 1500 เพราะเส้นทางคมนาคมเปลี่ยนไป แล้วมีบ้านเมืองแห่งใหม่ใกล้ทะเลเติบโตมีความสำคัญแทนที่ ช่วงเมืองพนัสนิคม โดยกำเนิดเมืองขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชานุญาตให้กลุ่มลาวอาสาปากน้ำมาสร้างภูมิลำเนาขึ้นในพื้นที่รกร้างระหว่างเมืองชลบุรีกับเมืองฉะเชิงเทราในปี พ.ศ. 2371 และพระราชทานนามเมืองว่าพนัสนิคม (บางเอกสารเขียน พนัศนิคม) มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ขึ้นกับกรมท่า กรุงเทพมหานคร ให้ท้าวอินทพิศาล (บางเอกสารเขียน อินพิศาล) ปลัดลาว เมืองสมุทรปราการ บุตรชายคนโตของท้าวไชย (บางเอกสารเขียน ศรีวิชัย) อุปฮาดเมืองนครพนม ให้เป็นเจ้าเมืองพนัสนิคมคนแรกและพระราชทานราชทินนามและบรรดาศักดิ์ที่พระอินทรอาษา (บางเอกสารเขียน อินทอาษา, อินทราษา) มีข้อความในพระราชพงศาวดารว่า “พวกลาวอาสาปากน้ำ ตั้งขึ้นเมื่อครั้งในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าสุลาลัย ภายหลังเมื่อปีชวดสัมฤทธิศก พวกลาวไม่สบาย ขอไปตั้งอยู่ที่เมืองพระรถ จึงโปรดให้ตัดเอาแขวงเมืองชลบุรี เมืองฉะเชิงเทรา มาตั้งเป็นเมืองขึ้นชื่อเมืองพนัศนิคม เจ้าเมืองชื่อพระอินทรอาษา” (พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 เล่ม 2 ของ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับคุรุสภา พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง พ.ศ. 2504 หน้า 180) ลาวบุกเบิกเมืองพนัสนิคม เป็นลาวเมืองนครพนม ประมาณ 2 พันคน นำโดยท้าวไชย อุปฮาดเมืองนครพนม บุตรชายชองพระบรมราฃา (ท้าวอุ่นเมือง) เจ้าเมืองนครพนมคนเก่า ไม่สมัครใจอยู่ในปกครองของพระบรมราชา (ท้าวมัง) เจ้าเมืองนครพนมคนใหม่ จึงอพยพพาสมัครพรรคพวก บุตรหลาน ท้าวเพี้ย ขอพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2352 และโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนอยู่คลองมหาวงษ์ เมืองสมุทรปราการ ยุคนั้นจึงเรียกคนกลุ่มนี้ว่าพวกลาวอาสาปากน้ำ แต่ทนสภาพแวดล้อมไม่ไหว เพราะเป็นชาวดอนน้ำจืด ถูกให้ไปอยู่เมืองลุ่มน้ำกร่อยและเค็ม เลยขอเปลี่ยนไปอยู่ที่อื่น ซึ่งสภาพใกล้เคียงที่ดอน จึงได้ไปอยู่เมืองพนัสนิคม ใน พ.ศ. 2372 พระอินทรอาษา เจ้าเมืองพนัสนิคม ได้ไปเกลี้ยกล่อมครอบครัวลาวเมืองนครพนมมาอยู่ที่เมืองพนัสนิคมอีกจำนวนหนึ่ง ใน พ.ศ. 2391 พระอินทรอาษา เจ้าเมืองพนัสนิคม คุมลาวเมืองพนัสนิคมยกไปทางบกปราบกบฏจีนตั้วเหี่ย เมืองฉะเชิงเทรา มีพรรณนาไว้ในพระราชพงศาวดารฯ เรื่องเจ้าพระยาพระคลังกับเจ้าพระยาบดินทรเดชาปราบจีนตั้วเหี่ย เมืองฉะเชิงเทรา ใน พ.ศ. 2394 พระอินทรอาษา เจ้าเมืองพนัสนิคม คุมลาวเมืองพนัสนิคมร่วมเป็นกองกำลังอารักขาสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามงกุฎสมมติวงศ์ วัดบวรนิเวศวิหาร เสด็จขึ้นเสวยราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้มีพรรณนาในพระราชพงศาวดารฯ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองราชอาณาจักร โดยการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของกระทรวงมหาดไทย เมืองพนัสนิคมจึงเข้าอยู่ในมณฑลปราจีนบุรี ดังมีบันทึกว่า “รวมหัวเมืองทางลำน้ำบางปะกง คือ เมืองปราจีนบุรี 1 เมืองนครนายก 1 เมืองพนมสารคาม 1 เมืองฉะเชิงเทรา 1 รวม 4 หัวเมือง เป็นเมืองมณฑล 1 เรียกว่า มณฑลปราจีน ตั้งที่ว่าการมณฑล ณ เมืองปราจีน ต่อเมื่อโอนหัวเมืองในกรมท่ามาขึ้นกระทรวงมหาดไทย จึงย้ายที่ทำการมณฑลลงมาตั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา เพราะขยายอาณาเขตมณฑลต่อลงไปทางชายทะเล รวมเมืองพนัสนิคม เมืองชลบุรี และเมืองบางละมุง เพิ่มให้อีก 3 รวมเป็น 7 เมืองด้วยกัน แต่คงเรียกชื่อว่ามณฑลปราจีนอยู่ตามเดิม ” ต่อมาในสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มีพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ได้ยกเลิกเขตการปกครองแบบ “เมือง” ทั่วราชอาณาจักร แล้วตั้งขึ้นเป็น “จังหวัด” แทน โดยเมืองพนัสนิคม เมืองชลบุรี และเมืองบางละมุงรวมกันกลายเป็นจังหวัดชลบุรี โดยอำเภอพนัสนิคมมีนายอำเภอพนัสนิคมคนแรกคือ หลวงสัจจพันธ์คีรี ศรีรัตนไพรวัน เจฏิยาสัน คามวาสี นพ-คูหาพนมโขลน นามเดิมว่า บัว ไม่ทราบนามสกุล อำเภอพนัสนิคมแบ่งออกเป็น 20 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้านรวม 185 หมู่บ้าน ท้องที่อำเภอพนัสนิคมประกอบด้วยการปกครองส่วนท้องถิ่น 20 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองพนัสนิคม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพนัสนิคมทั้งตำบล เทศบาลตำบลหมอนนาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหมอนนางทั้งตำบล เทศบาลตำบลกุฎโง้ง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกุฎโง้งทั้งตำบล เทศบาลตำบลหัวถนน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหัวถนนทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าพระธาตุ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหน้าพระธาตุทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวัดหลวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวัดหลวงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเซิด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านเซิดทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลนาเริก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาเริกทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสระสี่เหลี่ยม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสระสี่เหลี่ยมทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวัดโบสถ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวัดโบสถ์ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลท่าข้ามทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองปรือทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองขยาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองขยาดทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งขวาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทุ่งขวางทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหียง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองเหียงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลนาวังหิน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาวังหินทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านช้าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านช้างทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลโคกเพลาะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกเพลาะทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลไร่หลักทอง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลไร่หลักทองทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลนามะตูม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนามะตูมทั้งตำบล พระพนัสบดี ประเพณีงานบุญกลางบ้าน พระพนัสบดี พระพุทธมิ่งเมือง หลวงพ่อติ้ว โบราณสถานเมืองพระรถ พนัสนิคม โบราณสถานสระน้ำสระสี่เหลี่ยม โบราณสถานเนินดินโคกพนมดี โบราณสถานวัดโบสถ์ โบราณสถานหอไตร วัดใต้ต้นลาน โบราณวัตถุโคชนิดหิน วัดหน้าพระธาตุ แหล่งโบราณคดีวัดหัวถนน แหล่งโบราณคดีหนองใน แหล่งโบราณคดีที่ฝังศพโบราณบ้านเหนือ แหล่งโบราณคดีบ้านบนเนิน แหล่งโบราณคดีโคกพุทรา แหล่งค้างคาวแม่ไก่ วัดหลวงพรหมาวาส ถ้ำนางสิบสอง ตลาดเครื่องจักสานพนัสนิคม อนุสรณ์สถานชาตรี ศรีชล โรงเรียนพนัสพิทยาคาร โรงเรียนอนุบาลพนัสศึกษาลัย โรงเรียนวัฒนานุศาสน์ โรงเรียนอุทกวิทยาคม โรงเรียนทุ่งเหียงพิทยาคม โรงเรียนหัวถนนวิทยา วิทยาลัยการอาชีพพนัสนิคม นิทานเรื่องพระรถ-เมรี แพร่หลายในหมู่ชาวสองฝั่งโขง ยังบอกเล่าเรื่องพระรถ-มรี กับสถานที่ต่างๆที่นั่นด้วยจนทุกวันนี้ เรื่องพระรถ-เมรีนี้จัดเป็นชาดกนอกนิบาต ซึ่งหมายถึงชาดกที่แต่งขึ้นโดยอาศัยเค้าโครงจากนิทานพื้นบ้าน และไม่พบต้นฉบับในพระไตรปิฎก เรื่องพระรถกับนางเมรีนี้คงเป็นของผู้คนแถบสองฝั่งโขงมาแต่ดึกดำบรรพ์ จึงได้ถูกบันทึกไว้ในรูปของชาดกเรื่องหนึ่ง โดยพระสงฆ์ชาวเชียงใหม่ ราว พ.ศ. 2000 ถึง 2200 และจดไว้ในใบลานจำนวน 50 ผูก รู้จักกันในชื่อว่า “ปัญญาสชาดก” ในคำอธิบายต้นเล่ม สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงบันทึกไว้ว่าคัมภีร์ปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนฃาดก “เดี๋ยวนี้เห็นจะมีอยู่แต่ในประเทศสยาม กับที่เมืองหลวงพระบางแลที่กรุงกัมพูชา” ซึ่งก็หมายความว่านิทานเหล่านี้น่าจะจัดเป็นเรื่องเล่าเก่าแก่ของดินแดนสุวรรณภูมินั่นเองในปัญญาสชาดก เรื่องรถเสนชาดก เรียกนางเมรีว่า นางกังรี แล้วยังมีฉบับอื่นๆ อีกมากมายที่เรียกชื่อตัวละครเพี้ยนกันไปต่างๆ เช่นในพงศาวดารล้านช้างเรียกนางเมรีว่า นางกางรี ตำนานเมืองพระรถของชาวพนัสนิคม เชื่อกันว่าเมืองพนัสนิคมคือเมืองของพระรถเสนตามรถเสนชาดก ความว่า กาลครั้งหนึ่งในพระศาสนาของพระกัสสปพุทธเจ้า มีเศรษฐีคนหนึ่งชื่อว่า นันทะ อยู่ในบ้านสมิทธคาม เป็นคนมีทรัพย์สมบัติมาก แต่ไม่มีบุตรและธิดาเลย ด้วยเหตุนี้เขาจึงถือกล้วยสิบสองผลทูนศีรษะของตนไปยังพระอาราม ประสงค์จะถวายพระพุทธเจ้า จึงรำพึงในใจว่าเราทำการบูชาพระกัสสปสัมพุทธเจ้า เราจะปรารถนาให้ได้บุตรในอนาคตกาล เราจักได้บุตรและธิดาเป็นอันมาก ต่อมาภรรยาของเศรษฐีก็ตั้งครรภ์ ในไม่ช้าก็คลอดธิดาถึงสิบสองคน ในกาลนั้นธิดาเหล่านั้นยังเป็นเด็กเที่ยวไปเล่นไป จนภายหลังทรัพย์สมบัติเงินทองในเรือนของเศรษฐีก็ย่อยยับไป ทาสีทาสาก็พากันล้มตายไป นันทเศรษฐีกับภรรยาก็กลายเป็นคนยากจนเข็ญใจ ส่วนเศรษฐีก็ยังต้องหาข้าวต้มและข้าวสวยมาเลี้ยงธิดาต่อไปอีก ต่อม อาหารมีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้นก็หมดไป ด้วยเหตุนี้เศรษฐีจึงโกรธแล้วพาธิดาทั้งสิบสองคนขึ้นเกวียนขับเกวียนไปปล่อยเสียในป่า แล้วขับเกวียนกลับมายังเคหสถานของตน ได้ทราบว่าในชาติปางก่อนนันทเศรษฐีได้ถือเอาทรัพย์สมบัติมีทองและเงินเป็นต้นของธิดาเหล่านั้นไปในเวลาบริโภคอาหาร แล้วไม่ได้ให้คืน ด้วยเหตุวิบากของกรรมเก่าที่ติดตามมา เศรษฐีจึงได้กลายเป็นคนอนาถา ถูกธิดาทั้งสิบสองคนบีบคั้น ในกาลนั้นธิดาทั้งสิบสองคนจึงเที่ยวหาบิดาอยู่ในป่า ไม่ช้าก็ไปถึงสวนของสันธมาลา เวลานั้นนางสันธมารยักษิณีเข้าไปในสวนได้เห็นธิดาสิบสองคนแล้ว มีจิตรักใคร่จึงพาไปเลี้ยงไว้เหมือนน้องหมดทั้งสิบสองคน คราวหนึ่งธิดาผู้เป็นพี่ใหญ่ได้เห็นนางสันธมาลากินเนื้อมนุษย์ จึงบอกน้องทุกคนว่า พวกเราพากันมาอยู่ในสำนักของนางยักษ์ น้องทั้งปวงได้ฟังแล้วก็กลัว จึงพากันหนีไปทั้งสิบสอง ภายหลังนางสันธมาลาข้าไปในสวนไม่เห็นธิดาทั้งสิบสองคนก็ออกเที่ยวตามหา ธิดาทั้งสิบสองคนหนีไปได้ไม่ไกลนักก็เข้าไปอยู่ในท้องช้าง นางสันธมารยักษิณีตามหาไม่เห็นจึงถามช้าง เมื่อช้างตอบว่าเราไม่เห็น จึงกลับไปในสวน ธิดาทั้งสิบสองคนจึงออกจากท้องช้าง นางสันธมารยักษิณีก็ตามมาอีก จึงพากันเข้าท้องม้าบ้าง ท้องโคบ้าง พอนางสันธมารยักษิณีถามสัตว์ตัวไหนว่า เห็นธิดาทั้งสิบสองคนไหม สัตว์ทั้งหมดต่างตอบว่า ไม่เห็น นางจึงกลับไป ได้ทราบว่า ในชาติปางก่อน เมื่อนางสิบสองคนเป็นเด็กกำลังเล่นอยู่ ได้จับเอาลูกสุนัขเล็กๆ ไปทิ้งไว้ในป่าถึงสิบสองตัว กรรมที่เป็นบางนี้ได้ให้ผลแก่นางสิบสองคนถึงห้าร้อยชาติ ด้วยกรรมที่เป็นบาปนั้น นางสิบสองคนจึงได้เที่ยวไปในป่าในประเทศนั้นโดยลำดับจนถึงกุตารนคร ที่นครนั้นมีต้นไทรต้นหนึ่งอยู่ริมฝั่งสระของพระนคร นางสิบสองได้เห็นต้นไทรแล้ว จึงพากันขึ้นไปนั่งอยู่บนต้นไทรนั้น เวลานั้น พระเจ้ารถสิทธิ์ครองราชสมบัติอยู่ในกุตารนคร ได้พระราชทานหม้อน้ำทองแก่นางทาสีค่อมคนหนึ่ง เพื่อใช้สำหรับตักน้ำสรงมาถวาย นางทาสีค่อมถือหม้อน้ำทองไปถึงสระนั้นแล้ว ได้เห็นฉายรัศมีของนางสิบสองส่องสว่างมาถึงตน นางเกิดความโกรธจึงทุบหม้อน้ำทองทิ้งเสีย แล้วกลับมา พระเจ้ารถสิทธิ์ทอดพระเนตรไม่เห็นหม้อน้ำทองคำ จึงพระราชทานหม้อน้ำเงินให้แก่นางทาสีค่อม นางทาสีค่อมถือหม้อน้ำเงินไปเห็นอาการอย่างนั้นอีก ก็เกิดความโกรธ จึงทุบหม้อน้ำเงินทิ้งเสียอย่างนั้นแล้วก็กลับมา พระเจ้ารถสิทธิ์ทอดพระเนตรไม่เห็นหม้อน้ำเงิน ก็พระราชทานหม้อน้ำทำด้วยหนัง นางถือหม้อน้ำหนังไปถึงสระน้ำอีก เห็นอาการอย่างนั้นก็เกิดความโกรธทุบหม้อหนังเสียอย่างนั้นอีก แต่หม้อน้ำทำด้วยหนังจึงไม่แตก นางทาสีค่อมจึงต้องตักน้ำไป นางสิบสองคนเห็นอาการนั้นจึงหัวเราะตบมือขึ้น นางทาสีค่อมเงยหน้าขึ้น เห็นนางสิบสองคนอยู่บนต้นไทรมีรัศมีงดงาม จึงกลับมากราบทูลให้พระเจ้ารถสิทธิ์ทรงทราบว่า ตนได้เห็นนางฟ้าอยู่บนต้นไทร พระเจ้ารถสิทธิ์มรงสเดับแล้ว ก็เสด็จออกจากพระนครด้วยจตุรงคเสนา ทอดพระเนตรเห็นนางสิบสองคนแล้ว ทรงมีพระทัยยินดีมาก พระเจ้ารถสิทธิ์ทรงโปรดให้นางสิบสองคนนั้นนั่งบนวอ แล้วให้ประโคมเภรีดุริยางค์ดนตรีฟ้อนรำขับร้อง รับขึ้นไปยังปราสาท ตั้งไว้ในที่เป็นพระมเหสีเป็นที่รักของพระองค์ทั้งสิบสองนาง ต่อมาภายหลัง นางสันธมารยักษิณีได้ทราบว่า นางสิบสองคนได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้ารถสิทธิ์ จึงออกจากคชปุรนครรีบไปยังกุตารนคร เห็นต้นไทรริมฝั่งสระก็ขึ้นบนต้นไทร ยืนอวดรูปร่างที่สวยงามดุจนางฟ้าอยู่ เวลานั้นนางค่อมไปตักน้ำสรงยังสระนั้น ได้เห็นรัศมีของนางสันธมาร มองขึ้นไปข้างบน เห็นนางแล้ว จึงรีบไปทูลพระเจ้ารถสิทธิ์ให้ทรงทราบ พระเจ้ารถสิทธิ์ได้ฟังแล้วก็ออกจากพระนคร เสด็จไปยังที่นั้น ได้ทอดพระเนตรเห็นนางสันธมารแล้ว มีพระทัยยินดี จึงตรัสเรียกนางลงมา นางสันธมารได้ฟังแล้วก็ลงมาจากต้นไทร พระเจ้ารถสิทธิ์ให้นั่งบนวอทองพาไปให้อยู่ท่ามกลางปราสาท ตั้งให้เป็นอัครมเหสีผู้ใหญ่ นางสันธมารนั้นเป็นที่รักของพระองค์เป็นอันมากเพราะนางสันธมารมีรูปร่างงดามกว่าอพระมเหสีเก่าของพระเจ้ารถสิทธิ์ทั้งสิบสองนาง ก็วิบากกรรมเก่าของนางสิบสองมาถึงแล้ว ได้ทราบว่า ในชาติปางก่อน นางทั้งสิบสองนี้เคยเป็นนางทาริกา พากันไปเล่นที่ริมฝั่งน้ำ ได้จับปลาสิบสองตัวมาวางไว้ที่บนบก น้องคนเล็กได้แทงตาของปลาตัวหนึ่งข้างหนึ่ง พี่สาวอีก ๑๑ คนแทงตาของปลา ๑๑ ตัวทั้ง ๒ ข้าง เลิกเล่นแล้วจึงได้ปล่อยไป ด้วยวิบากกรรมนั้นนางสันธมารยักษิณีจึงแกล้งหาเลสลวงว่าตนกำลังเป็นไข้ เมื่อพระเจ้ารถสิทธิ์ตรัสถามว่านางสันธมารต้องการอะไร จึงทูลว่าข้าแต่สมมติเทวราชเจ้า เวลานี้หม่อมฉันถูกความทุกข์ครอบงำเหลือเกิน ถ้าโปรดเกล้าให้หม่อมฉันควักลูกตานางสิบสองเสียได้ จะเป็นที่สบายอารมณ์เป็นอันมาก พระเจ้ารถสิทธิ์ได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงให้ตรัสเรียกนางสิบสองมาเฝ้า แล้วบังคับให้นั่งเรียงลำดับกันตามคำสั่งของนางสันธมาร เวลานั้นนางสันธมารจึงลุกขึ้นจากที่นอน แล้วควักลูกตานางสิบสอง ในขณะที่โลหิตกำลังหลั่งไหลอยู่ ก็ส่งลูกตานั้นไปให้ธิดาของตนเก็บรักษาไว้ พระเจ้ารถสิทธิ์เมื่อทรงไม่เห็นนางสิบสอง จึงทรงเสวยทุกขเวทนาไม่สบายพระทัยเลย นางสิบสองได้เสวยทุกขเวทนาอันเป็นผลกรรมที่ตนทำไว้แต่ในอดีตชาติแล้ว พี่สาวทั้ง ๑๑ คนได้ความลำบากมากกว่า เพราะถูกควักลูกตาทั้งสองข้าง แต่น้องสาวสุดท้องยังแลเห็น เพราะยังมีตาเหลืออยู่ข้างหนึ่ง ในขณะที่เสวยทุกขเวทนา น้องสาวสุดท้องได้เจริญภาวนาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อยู่มาไม่ช้านาน พี่สาวทั้งสิบเอ็ดคนก็ตั้งครรภ์ แต่น้องสาวคนสุดท้องยังไม่ตั้งครรภ์ ในขณะนั้นภพท้าวสักกเทวราชก็แสดงอาการร้อน ท้าวสักกเทวราชทรงรำพึงอยู่ จึงรู้เหตุนั้นว่า นางสิบสองเกิดความลำบากหาที่พึ่งมิได้ แล้วทรงหาบุตรซึ่งสมควรแก่นางนั้น ได้เห็นพระโพธิสัตว์เจ้ามีพระชนมายุจะสิ้นอยู่แล้ว ปรารถนาจะไปเกิดยังเทวโลกสูงขึ้นไป จึงเสด็จไปยังสำนักพระโพธิสัตว์เจ้า แล้วตรัสว่า ท่านควรจะไปเกิดยังมนุษยโลก พระมหาโพธิสัตว์เจ้าได้ฟังแล้วกล่าวว่า การที่หม่อมฉันจะไปเกิดในมนุษยโลกมีอานิสงส์เพียงใด ท้าวสักกเทวราชตรัสว่า ท่านจะได้ไปสร้างบารมี จะได้เป็นที่พึ่งแก่มหาชน ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์เจ้าก็จุติจากเทวโลก ลงมาถือปฏิสนธิในกุจฉิประเทศของน้องคนสุดท้อง พระเจ้ารถสิทธิ์สั่งให้อำมาตย์ขุดอุโมงค์ จับนางสิบสองขังไว้ในอุโมงค์แล้วให้ปิดอุโมงค์เสีย ครั้งนั้นพระโพธิสัตว์เจ้าจำเดิมแต่พระองค์เกิดมา ก็ได้บรรเทาทุกข์ของนางสิบสองให้เบาบางลง เมื่อครรภ์ถ้วนทศมาส นางสิบเอ็ดคนก็คลอดบุตร อาหารที่จะกินก็ไม่มี นางเหล่านั้นจึงฉีกเนื้อบุตรแบ่งกันกิน นางเหล่านั้นกินเนื้อบุตรเลี้ยงตนมาทุกวันๆ เหมือนนางยักษ์ อยู่มาภายหลังน้องสุดท้องตั้งครรภ์ถ้วนทศมาสแล้ว ก็คลอดพระมหาโพธิสัตว์ มีรูปทรงเปล่งปลั่งดังสีทอง นางเหล่านั้นจึงตั้งนามว่า รถเสนกุมาร ต่อมาพระโพธิสัตว์เจ้าจึงถามพระมารดาว่า แม่สถานที่นี้เป็นอะไร พระมารดาบอกว่า ที่นี้เป็นอุโมงค์ พระเจ้ารถสิทธิ์ให้ขุดไว้ให้แม่กับญาติของเจ้าเข้ามาอยู่ในอุโมงค์นี้ พระโพธิสัตว์เจ้าได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงมีหทัยหวั่นไหวเกิดความทุกข์รำพึงว่า มารดากับญาติของเราเป็นคนอนาถา เป็นคนกำพร้าได้ความลำบากนัก พระสัพพัญญุตญาณก็ส่องสว่างไปด้วยพระรัศมีทั่วทั้งอุโมงค์ พระมหาโพธิสัตว์เจ้าได้เห็นแล้วก็บังเกิดความโสมนัส เทพยดาที่รักษาประตูอุโมงค์ก็ปิดประตูอุโมงค์ไว้ พระมหาโพธิสัตว์เจ้าขึ้นไปเบื้องบนประตูอุโมงค์ แล้วทำการอธิษฐาน แลขึ้นไปบนอากาศ อ้อนวอนให้ท้าวสักกเทวราชนำเอาผ้ามาให้ ท้าวสักกเทวราชแลลงมาทราบว่า เวลานี้พระโพธิสัตว์เจ้าไปบังเกิดในโลกมนุษย์แล้ว ก็ถือเอาเครื่องประดับ ผ้าอันงาม และพวงมาลัยทิพย์มาให้ แล้วสอนให้รู้อุบายในการเล่นการพนันต่างๆ พระมหาโพธิสัตว์เจ้าก็ถือเอาเครื่องประดับผ้าอันงามและพวงมาลัยทิพย์มาให้แก่พระมารดาและหมู่ญาติในอุโมงค์ แล้วไหว้ลาพระมารดา ออกจากอุโมงค์แลดูไปทั่วทิศได้เห็นบรรณศาลาที่มนุษย์เล่นอยู่ กุฎุมพีเหล่านั้นเป็นพวกเลี้ยงโคได้เห็นพระมหาโพธิสัตว์เจ้าแล้วก็ชวนให้เล่นด้วยกัน เมื่อพระมหาโพธิสัตว์เจ้าถามว่า ข้าแต่พี่เราจะเล่นที่ไหน พวกเขาจึงบอกให้ไปเล่นที่สนามชนไก่ แล้วก็พาไปที่สนามชนไก่ ครั้นนั้นพระมหาโพธิสัตว์เจ้าจึงกล่าวว่า ถ้าข้าแพ้พี่ทั้งหลายข้าจะให้ทองและแก้ว ถ้าพี่ทั้งหลายแพ้จงให้ห่อข้าวแก่ข้าสิบสองห่อ พวกเลี้ยงโคเล่นชนไก่กันแพ้พระมหาโพธิสัตวืเจ้าหลายครั้ง จึงให้ห่อข้าวแก่พระมหาโพธิสัตว์เจ้าสิบสองห่อ แล้วพระมหาโพธิสัตว์เจ้าถือเอาห่อข้าวสิบสองห่อไปให้พระมารดาและญาติรับประทาน แล้วแสดงธรรมให้พระมารดาฟังว่า ญาติทั้งหลายจงพากันฟังธรรม ความสุขที่จะเสมอเหมือนด้วยธรรมไม่มี ขุมทรัพย์ที่จะเสมอเหมือนด้วยธรรมนั้นไม่ดี โลกที่จะเสมอด้วยธรรมนั้นไม่มี สัตว์โลกทั้งหลายที่เสวยสุขสบาย ย่อมถึงคือรักษาไว้ซึ่งธรรมอันประเสริฐของสัตว์ บรรดาญาติทั้งหลายกับพระมารดาได้ฟังธรรมแล้ว มีจิตปราโมทย์ พากันซ้องเสียงสาธุการด้วยสำเนียง แสดงความเคารพในธรรม พระมหาโพธิสัตว์จึงถามพระมารดาว่า บิดาของฉันชื่ออะไร พระมารดาตอบว่าบิดาเจ้าชื่อพระเจ้ารถสิทธิ์ รถเสนกุมารดูวิบากกรรมของญาติทั้งหลายแล้ว จึงลาพระมารดา ไปหาพวกเลี้ยงโคเล่นชนไก่ได้ความชนะจนปรากฏทั่วไป พระเจ้ารถสิทธิ์ได้ยินคำเลี่ยงลือ จึงรับสั่งให้ราชบุรุษให้ไปพาตัวมาเข้าเฝ้า อำมาตย์ทั้งหลายก็รีบพากันออกไปหารถเสนกุมารไปเข้าเฝ้า รถเสนกุมารไปเฝ้าแล้วกระทำสีหนราทดุจพระยาราชสีห์ พระเจ้ารถสิทธิ์ตรัสว่า พ่อกุมารเจ้าจงเล่นสกากับเรา พระมหาโพธิสัตว์เจ้าทูลว่า ข้าพระบาทแพ้จะถวายตัวแก่พระองค์ พระองค์เล่นแพ้จงพระราชทานห่อข้าวแก่ข้าพระบาทสิบสองห่อ พระเจ้ารถสิทธิ์ได้สดับแล้ว ก็ทรงเล่นสกากับรถเสน เล่นครั้งแรกก็แพ้ ครั้งที่สองก็แพ้ จึงพระราชทานห่อข้าวให้แก่รถเสนกุมารสิบสองห่อ รถเสนกุมารถวายบังคมทูลลาแล้วก็ไปหาพระมารดาให้ข้าวสิบสองห่อแก่พระมารดาและญาติๆกินกัน ครั้นรุ่งขึ้นอีกวันหนึ่ง พระเจ้ารถสิทธิ์ทรงระลึกถึงรถเสนกุมาร จึงเรียกอำมาตย์มาสั่งว่า เจ้าจงไปพากุมารมาหาเรา อำมาตย์ก็ทำตามรับสั่ง บรมกษัตริย์ทอดพระเนตรเห็นรถเสนกุมารแล้ว ตรัสว่า วันนี้เจ้าจงมาบนปราสาทเถิด รถเสนกุมารได้ยินแล้วก็ขึ้นไปบนปราสาท พระเจ้ารถสิทธิ์ได้เห็นกุมารรูปงามเสมอด้วยเรือนทองเป็นที่รักเจริญใจแล้ว จึงตรัสว่า มารดาของเจ้าชื่ออะไร พระโพธิสัตว์เจ้าทูลว่า มารดาและญาติของข้าพระบาทเป็นนางสิบสองคน บิดาของข้าพระบาททรงพระนามว่า พระเจ้ารถสิทธิ์ พระมารดาและญาติของตนเป็นอัครมเหสี ในขณะนั้นนางสันธมารยักษิณีได้ยินดังนั้น ก็รู้ว่าตนจะต้องตาย จึงเกิดทุกข์ ทำอุบายเป็นไข้เสวยความทุกขเวทนา รำพึงในใจว่าจะทำอุบายอะไรดี จึงเรียกอำมาตย์มา แล้วใช้ให้ไปทูลบรมกษัตริย์ว่า พระอัครมเหสีประชวรเป็นไข้หนัก พระเจ้ารถสิทธิ์โปรดให้หาหมอในพระนครมารักษา โรคของนางก็ไม่หาย ครั้นชาวพระนครมาประชุมกันแล้ว จึงตรัสว่า ท่านทั้งหลายใครอาสาเราไปนำเอายาที่คชปุรนครมาได้ เราจะให้ทองให้เงิน ท่านทั้งหลายบรรดาที่เป็นมนุษย์ ถ้ามีใครมีความเพียรไปนำเอายาที่คชปุรนครมาได้เราจะตั้งให้เป็นเสนาบดีผู้ใหญ่ นางสันธมารทูลว่า ขอพระองค์จงโปรดให้รถเสนกุมารผู้เป็นราชบุตรไปจึงจะได้ พระเจ้ารถสิทธิ์จึงตรัสกับพระราชบุตรว่า เจ้าจงไปนำเอายาที่มีอยู่ในคชปุรนคร มารักษาโรคนางสันธมาร รถเสนกุมารทูลว่า ขอพระบาทเคยได้ปฏิบัติพระมารดาและญาติของข้าพระบาทอยู่ทุกวันๆ พวกเขาจึงได้มีชีวิตอยู่จนบัดนี้ ข้าพระบาทไปคชปุรนคร ใครจะช่วยปฏิบัติรักษาพระมารดาและญาติของข้าพระบาทได้ พระเจ้ารถสิทธิ์ตรัสว่า บิดาให้มีผู้คอยปฏิบัติรักษามารดาและญาติของเจ้าเอง อย่าคิดวิตกเลย พระมหาโพธิสัตว์เจ้าบังคมลา แล้วไปยังโรงเลี้ยงม้า ได้อัศวราชอาชาไนยที่ชอบใจมาหนึ่งตัว ตั้งชื่อว่า เจ้าพาชี แล้วผูกอัศวราชนั้น ตกแต่งด้วยเครื่องประดับทั้งปวงแล้ว ขึ้นขับขี่บนอากาศแล้วลงมาให้ม้าบริโภคอาหารในป่าหิมพานต์แล้ว จึงขึ้นไปบนอากาศอีกแล้วลงมายังโลกมนุษย์ เปลื้องเครื่องแต่งพาชีลงแล้วขึ้นไปบนปราสาทของนางสันธมาร นางสันธมารได้เห็นแล้วพระราชกุมารแล้วจึงเจรจาว่า เจ้าเป็นที่พึ่งที่อาศัยของแม่จงเห็นแก่แม่อนุเคราะห์แม่เถิด ครั้นพระโพธิสัตว์เจ้าไปหาพระมารดา ไหว้ลาพระมารดาแล้วพูดว่า แม้กับญาติของฉันจงอยู่ไปพรางฉันจะไปเก็บยาที่คชปุรนคร นางสันธมารแต่งสาส์นให้พระมหาโพธิสัตว์ พระมหาโพธิสัตว์รับผูกไว้ที่คอม้าพาชี แล้วขึ้นไปบนปราสาทแต่งกายเสร็จแล้ว ขึ้นอัศวราชขึ้นเหาะไปด้วยอานุภาพพาชีอัศวราช ได้เห็นอาสรมพระฤๅษีก็ลงจากอากาศเข้ายังพระอาศรม ปล่อยม้าและวางเครื่องแต่งม้าไว้ใกล้พระอาศรมพระฤๅษีแล้วก็หลับไป พระฤๅษีได้ยินม้าจึงคิดว่า นี่เสียงอะไร จึงออกมาดู ก็เห็นม้า จึงเข้าไปดูใกล้ๆ เห็นหนังสือผูกอยู่ที่คอม้า จึงแก้ออกอ่านดู ได้ทราบว่า พระเจ้ารถสิทธิ์นี้หลงรักนางสันธมาร ใช้ลูกของตนไปเมืองยักษ์จะให้ยักษ์กิน แต่กุมารนี้ควรจะเป็นผัวนางกังรีธิดาของนางสันธมารจึงเขียนสาส์นเปลี่ยนถ้อยคำเสียใหม่ ผูกไว้ที่คอม้าตามเดิม แล้วปลุกรถเสนกุมารให้ลุกขึ้น ถามว่า ท่านชื่ออะไร บิดามารดาของท่านชื่ออะไร กุมารบอกว่า บิดาของข้าพเจ้าทรงพระนามว่า พระเจ้ารถสิทธิ์ พระมารดาของข้าพเจ้า คือนางสิบสอง เป็นอัครมเหสีของพระเจ้ารถสิทธิ์นั้น ขอรับ ครั้งนั้น พระมหาโพธิสัตว์เจ้าผูกเครื่องแต่งม้า แล้วลาพระฤๅษีขี่ม้าขึ้นบนอากาศเหาะไปด้วยอานุภาพม้าพาชี เห็นแว่นแคว้นของมารแล้ว ขณะนั้นโยธามารทั้งหลายก็มาทางอากาศ พาชีแผดเสียงดังสนั่น ท้องฟ้าอากาศบางแห่งก็เป็นควัน บางแห่งก็รุ่งเรืองประดุจเปลวไฟ พวกมารกับเสนามารได้ยินเสียงกึกก้องแล้วพากันกลัวกันตกละตึง ในขณะนั้นพาชีก็พาพระมหาโพธิสัตว์เจ้าไปถึงเสนามาร พระโพธิสัตว์เจ้าก็แก้สาส์นที่ผูกคอม้านั้นทิ้งลงไป ณ พื้นดิน เสนามารทั้งหลายได้เห็นอักษรแล้วจึงไปแจ้งความนั้นให้นางกังรีทราบ นางกังรีจึงไปหาพระมหาโพธิสัตวืเจ้าได้อภิเษกครองสมบัติเสวยราชสมบัติอยู่ในคชปุรนครเจ็ดเดือนบริบูรณ์ วันหนึ่ง พระเจ้ารถเสนลงจากปราสาทไปหานางกังรีแล้ว ถามนางบริวารทั้งหลายว่า ต้นไม้ชื่อว่าต้นบุนนากและต้นคิรีบุนนากมีอยู่แห่งใด ทรงทราบแล้วจึงอธิษฐาน แล้วกระทำเสียงสาธุการ พุทธบุนนาก พุทธคิรีบุนนาก ดังนี้ ทันใดนั้น เทพยดาทั้งหลาย ได้ยินพระมหาโพธิสัตว์เจ้าก็กระทำเสียงสาธุการอันกึกก้องโกลาหลว่า ท่านจะได้ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ พระมหาโพธิสัตว์เจ้ายื่นพระหัตถ์ไปเก็บผลไม้ได้แล้วก็มีหทัยยินดี จึงให้เสนาตรวจตราพลนิกายเสร็จแล้ว เมื่อถึงประตูให้ยักษ์พันหนึ่งเปิดให้ แล้วก็ขึ้นยังปราสาทเสด็จประทับนั่งบนรัตนบัลลังก์ พระเจ้ารถเสนจึงบอกนางกังรีเทวีว่า เจ้าจงบังคับให้พวกนิกายทั้งปวงเล่นการมหรสพ นางกังรีเทวีก็บังคับให้พวกพลนิกายเล่นมหรสพกัน พระเจ้ารถเสนจึงออกอุบายให้นางกังรีดื่มน้ำสุราบานเป็นที่สบายใจ แต่พระองคืหาดื่มไม่ ส่วนนางกังรีเทวีดื่มน้ำเมาแล้วก็ล้มลงบนที่ไสยาสน์ จึงบอกพระมหาโพธิสัตว์เจ้าว่า ลูกตานางสิบสองเธอแขวนไว้ที่ข้างบนครัวไฟ พระมหาโพธิสัตว์เจ้าจึงถามว่า ยาที่จะทำลูกตาขึ้นสว่างมีหรือไม่ นางกังรีทูลว่า ยาห่อหนึ่งที่แขวนอยู่นั้นเป็นยาทิพย์สำหรับรักษาลูกตา พระมหาโพธิสัตว์เจ้าได้ฟังแล้วก็เกิดพระทัยโสมนัสรำพึงว่าเราจะได้เห็นพระพักตร์พระมารดาแล้ว พอนางกังรีหลับไปแล้ว ก็ฉวยเอายาเหล่านั้นขึ้นยังพาชีหนีไปในเวลาเที่ยงคืน จนถึงเมืองกุตารนคร ส่วนนางสันธมารเห็นพระโพธิสัตว์แต่ที่ไกล ก็ไปสู่ปราสาทเสียใจจนหทัยแตกออกไป ๗ เสี่ยงทำกิริยาตายไป พระโพธิสัตว์ถือเอายาทิพย์เข้าไปที่อุโมงค์ใส่ตาแห่งพระมารดาและญาติทั้งหลาย ตาแห่งมารดาและญาติก็กลับสว่างขึ้น พระเจ้ารถสิทธิ์จึงตั้งนางสิบสองไว้ในอัครมเหสี มีสมาคมเป็นสุขยิ่งใหญ่ด้วยนางทั้งสิบสองนั้น ต่อมาพระเจ้ารถสิทธิ์จึงทรงอภิเษกพระรถเสนราชบุตรไว้ในราชสมบัติ พระเจ้ารถเสนก็ดำรงสิริราชสมบัติโดยทำนองคลองธรรม ทรงอุปถัมภ์แก่มหาชนจำเดิมแต่เสวยราชย์มา สมเด็จพระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมอย่างนี้แล้ว จึงตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ในชาติปางก่อน เมื่อเราบำเพ็ญโพธิสมภาร เราก็ได้มีความกตัญญูกตเวทีแก่มารดาและญาติแล้ว ตระกูลทุมมานนท์ เป็นนามสกุลพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเป็นนามสกุลพระราชทานที่ ๑๔๐๕ "ทุมมานนท์" (เขียนแบบโรมันว่า Dummananda) อันสืบเชื้อสายมาจากพระอินทรอาษา เจ้าเมืองพนัสนิคม โรงพยาบาลพนัสนิคม กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 19 อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี สนามกีฬาและศูนย์เยาวชนเทศบาลเมืองพนัสนิคม เว็บไซต์ชลบุรีอินเด็กซ์ คอมมูนิตี้และสถานที่ท่องเที่ยวชลบุรี เว็บไซต์จังหวัดชลบุรี อำเภอพนัสนิคม หนังสือพิทยานุสรณ์ พ.ศ. 2499 สถานที่ท่องเที่ยว อำเภอพนัสนิคม สถานที่ต่างๆ อำเภอพนัสนิคม โรงเรียนพนัสพิทยาคาร พระรถเมรี สุจิตต์ วงษ์เทศ ลาวพนัสนิคมฯ วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่24 ฉบับที่ 45 การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการชองกลุ่มชาติพันธุ์ลาวในภาคคะวันออก : พลวัตในบริบทสังคมไทย อำเภอพนัสนิคม พระพนัสบดีคู่บ้าน จักสานคู่เมือง ลือเลื่องบุญกลางบ้าน ตำนานพระรถ-เมรี ศักดิ์ศรีเมืองสะอาด เก่งกาจการทายโจ๊ก ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอพนัสนิคม อักษรโรมัน Amphoe Phanat Nikhom จังหวัด ชลบุรี ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 450.9 ตร.กม. ประชากร 123,640 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 274.20 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 2006 รหัสไปรษณีย์ 20140, 20240 (เฉพาะหมู่ที่ 4-5, 8-11, 14-15 ตำบลนาเริก และหมู่ที่ 4-6, 10-11 ตำบลนาวังหิน) ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอพนัสนิคม ถนนเมืองเก่า ตำบลพนัสนิคม อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 20140 พิกัด 13°27′6″N 101°10′36″E / 13.45167°N 101.17667°E / 13.45167; 101.17667 หมายเลขโทรศัพท์ 0 3846 1122, 0 3847 3789 หมายเลขโทรสาร 0 3846 1122, 0 3847 3789 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ตำบลพนัสนิคม (Phanat Nikhom) 11. ตำบลท่าข้าม (Tha Kham) 2. ตำบลหน้าพระธาตุ (Na Phra That) 12. ตำบลหนองปรือ (Nong Prue) 3. ตำบลวัดหลวง (Wat Luang) 13. ตำบลหนองขยาด (Nong Khayat) 4. ตำบลบ้านเซิด (Ban Soet) 14. ตำบลทุ่งขวาง (Thung Khwang) 5. ตำบลนาเริก (Na Roek) 15. ตำบลหนองเหียง (Nong Hiang) 6. ตำบลหมอนนาง (Mon Nang) 16. ตำบลนาวังหิน (Na Wang Hin) 7. ตำบลสระสี่เหลี่ยม (Sa Si Liam) 17. ตำบลบ้านช้าง (Ban Chang) 8. ตำบลวัดโบสถ์ (Wat Bot) 18. ตำบลโคกเพลาะ (Khok Phlo) 9. ตำบลกุฎโง้ง (Kut Ngong) 19. ตำบลไร่หลักทอง (Rai Lak Thong) 10. ตำบลหัวถนน (Hua Thanon) 20. ตำบลนามะตูม (Na Matum) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานนามเมืองว่าพนัสนิคม หอพระพนัสบดี อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี พระพนัสบดี วิศวกรรมปิโตรเลียม ================== วิศวกรรมปิโตรเลียม (อังกฤษ: Petroleum engineering) เป็นสาขาของวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฮโดรคาร์บอน, ซึ่งอาจเป็นน้ำมันดิบหรือเป็นก๊าซธรรมชาติ การสำรวจและการผลิตจะถือว่าอยู่ในภาค "ต้นน้ำ" ของอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ. การสำรวจ, โดยนักวิทยาศาสตร์โลก, และวิศวกรรมปิโตรเลียมเป็นสองสาขาใต้ผิวโลกหลักของอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ, ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มสูงสุดของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของไฮโดรคาร์บอนจากอ่างเก็บกักใต้ดิน ธรณีวิทยาปิโตรเลียมและธรณีฟิสิกส์มุ่งเน้นไปที่การให้คำอธิบายที่คงที่ของหินอ่างเก็บกักไฮโดรคาร์บอน, ในขณะที่วิศวกรรมปิโตรเลียมมุ่งเน้นไปที่การประมาณของปริมาณที่สามารถกู้คืนได้ของทรัพยากรนี้โดยใช้ความเข้าใจในรายละเอียดของพฤติกรรมทางกายภาพของน้ำมัน, น้ำและก๊าซที่อยู่ในหินที่มีรูพรุนที่ความดันสูงมาก ความพยายามร่วมกันของนักธรณีวิทยาและวิศวกรปิโตรเลียมตลอดชีวิตของการสะสมสารไฮโดรคาร์บอนได้กำหนดวิธีการที่อ่างเก็บกักได้รับการพัฒนาและหมดไป, และปกติพวกเขามักจะมีผลกระทบมากที่สุดเกี่ยวกับเศรษฐกิจของแหล่งผลิต วิศวกรรมปิโตรเลียมต้องมีความรู้ที่ดีของหลายสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง, เช่นธรณีฟิสิกส์, ธรณีวิทยาปิโตรเลียม, การประเมินผลการก่อตัว, (การทำรายงานหลุมเจาะ), การเจาะ, เศรษฐศาสตร์, การจำลองอ่างเก็บกัก, วิศวกรรมอ่างเก็บกัก, วิศวกรรมบ่อ, ระบบยกเทียม (การใช้วิธีการที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อเพิ่มการไหลของของเหลว, เช่นน้ำมันดิบหรือน้ำ, จากบ่อการผลิต), ความสำเร็จ, และวิศวกรรมสิ่งอำนวยความสะดวกของน้ำมันและก๊าซ การรับสมัครคนเข้าทำงานให้กับอุตสาหกรรมนี้ในอดีตหาได้จากสาขาวิชาฟิสิกส์, วิศวกรรมเคมีและวิศวกรรมเหมืองแร่ การฝึกอบรมพัฒนาต่อมาได้รับการดำเนินการปกติภายในบริษัทน้ำมัน วิศวกรรมปิโตรเลียม (อังกฤษ: Petroleum engineering) เป็นสาขาของวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฮโดรคาร์บอน, ซึ่งอาจเป็นน้ำมันดิบหรือเป็นก๊าซธรรมชาติ การสำรวจและการผลิตจะถือว่าอยู่ในภาค "ต้นน้ำ" ของอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ. การสำรวจ, โดยนักวิทยาศาสตร์โลก, และวิศวกรรมปิโตรเลียมเป็นสองสาขาใต้ผิวโลกหลักของอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ, ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มสูงสุดของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของไฮโดรคาร์บอนจากอ่างเก็บกักใต้ดิน ธรณีวิทยาปิโตรเลียมและธรณีฟิสิกส์มุ่งเน้นไปที่การให้คำอธิบายที่คงที่ของหินอ่างเก็บกักไฮโดรคาร์บอน, ในขณะที่วิศวกรรมปิโตรเลียมมุ่งเน้นไปที่การประมาณของปริมาณที่สามารถกู้คืนได้ของทรัพยากรนี้โดยใช้ความเข้าใจในรายละเอียดของพฤติกรรมทางกายภาพของน้ำมัน, น้ำและก๊าซที่อยู่ในหินที่มีรูพรุนที่ความดันสูงมาก ความพยายามร่วมกันของนักธรณีวิทยาและวิศวกรปิโตรเลียมตลอดชีวิตของการสะสมสารไฮโดรคาร์บอนได้กำหนดวิธีการที่อ่างเก็บกักได้รับการพัฒนาและหมดไป, และปกติพวกเขามักจะมีผลกระทบมากที่สุดเกี่ยวกับเศรษฐกิจของแหล่งผลิต วิศวกรรมปิโตรเลียมต้องมีความรู้ที่ดีของหลายสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง, เช่นธรณีฟิสิกส์, ธรณีวิทยาปิโตรเลียม, การประเมินผลการก่อตัว, (การทำรายงานหลุมเจาะ), การเจาะ, เศรษฐศาสตร์, การจำลองอ่างเก็บกัก, วิศวกรรมอ่างเก็บกัก, วิศวกรรมบ่อ, ระบบยกเทียม (การใช้วิธีการที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อเพิ่มการไหลของของเหลว, เช่นน้ำมันดิบหรือน้ำ, จากบ่อการผลิต), ความสำเร็จ, และวิศวกรรมสิ่งอำนวยความสะดวกของน้ำมันและก๊าซ การรับสมัครคนเข้าทำงานให้กับอุตสาหกรรมนี้ในอดีตหาได้จากสาขาวิชาฟิสิกส์, วิศวกรรมเคมีและวิศวกรรมเหมืองแร่ การฝึกอบรมพัฒนาต่อมาได้รับการดำเนินการปกติภายในบริษัทน้ำมัน อาชีพนี้ได้เริ่มต้นในปี 1914 ภายในสถาบันอเมริกันทำเหมืองแร่, โลหะ, และวิศวกรปิโตรเลียม (AIME) ปริญญาแรกของวิศวกรรมปิโตรเลียมได้ประสิทธ์ประศาสน์ในปี 1915 จากมหาวิทยาลัยแห่งพิตส์เบิร์ก ตั้งแต่นั้นมา, อาชีพนี้มีวิวัฒนาการเพื่อแก้สถานการณ์ที่ยากลำบากมากขึ้น, มากเท่ากับของ "ผลไม้ที่แขวนต่ำ" ของแหล่งน้ำมันของโลกที่มีการตรวจพบและหมดไป การปรับปรุงในแบบจำลองคอมพิวเตอร์, วัสดุและการใช้สถิติ, การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น, และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่นการขุดเจาะในแนวนอนและการกู้คืนน้ำมันแบบเพิ่มสมรรถนะ (เทคนิคในการเพิ่มปริมาณน้ำมันดิบที่จะสามารถสกัดได้จากแหล่งน้ำมัน), มีการปรับปรุงอย่างมากในกล่องเครื่องมือของวิศวกรปิโตรเลียมในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา บริเวณน้ำลึก, อาร์กติกและสภาวะทะเลทรายมักจะต้องต่อสู้ดิ้นรนด้วย สภาพแวดล้อมที่อุณหภูมิสูงและความดันสูง (HTHP) ได้กลายเป็นพื้นที่ธรรมดามากขึ้นในการดำเนินงานและต้องการวิศวกรปิโตรเลียมที่จะเข้าใจในหัวข้ออย่างกว้างขวางเท่า ๆ กับระบบเทอร์โมไฮโดรลิค, ระบบ Geomechanics และระบบอัจฉริยะ สมาคมวิศวกรปิโตรเลียม (SPE) เป็นสังคมมืออาชีพที่ใหญ่ที่สุดสำหรับวิศวกรปิโตรเลียมและเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก การศึกษาด้านวิศวกรรมปิโตรเลียมมีอยู่ใน 17 มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาและอื่น ๆ อีกมากมายทั่วโลก - เบื้องต้นในการผลิตน้ำมัน - และบางบริษัทน้ำมันมีการฝึกอบรมทางวิศวกรรมปิโตรเลียมเป็นการภายในอย่างน่าสนใจ วิศวกรรมปิโตรเลียมในอดีตเป็นผู้หนึ่งที่ได้รับค่าจ้างสูงสุดในสาขาวิชาวิศวกรรม, ถึงแม้จะมีแนวโน้มที่จะถูกปลดพนักงานจำนวนมากเมื่อราคาน้ำมันลดลง ในบทความเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2007, Forbes.com รายงานว่าวิศวกรรมปิโตรเลียมเป็นงานที่จ่ายดีที่สุดอันดับที่ 24 ในสหรัฐอเมริกา ในการสำรวจของสมาคมแห่งชาติของวิทยาลัยและนายจ้างปี 2010 แสดงให้เห็นว่าวิศวกรปิโตรเลียมได้ค่าจ้างสูงสุดสำหรับผู้ที่จบการศึกษาปี 2010่ทีระดับเงินเดือนประจำปีเฉลี่ย $ 125,220 สำหรับบุคคลที่มีประสบการณ์, เงินเดือนสามารถเริ่มจาก $ 170,000 จนถึง $ 260,000 ต่อปี พวกเขาทำค่าเฉลี่ยได้ที่ $ 112,000 ต่อปีและประมาณ $ 53.75 ต่อชั่วโมง วิศวกรปิโตรเลียมแบ่งตัวเองออกเป็นหลายประเภท ได้แก่ วิศวกรอ่างเก็บกักทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตน้ำมันและก๊าซโดยการวางตำแหน่งบ่อที่เหมาะสม, อัตราการผลิต, และเพิ่มสมรรถนะเทคนิคการกู้คืนน้ำมัน วิศวกรขุดเจาะ (อังกฤษ: Drilling engineer) จัดการด้านเทคนิคของการสำรวจเพื่อการขุดเจาะ, การผลิตและ, การฉีดบ่อ วิศวกรการผลิตปิโตรเลี่ยม, รวมถึงวิศวกรใต้ผิวดิน (อังกฤษ: subsurface engineer) จัดการเชื่อมต่อระหว่างอ่างเก็บกักกับบ่อ, รวมทั้งการปรุ (การยิงท่อกรุซีเมนต์และชั้นหินที่จะทำการผลิตให้เป็นรูเพื่อให้น้ำมันหรือก๊าซไหลขึ้นมาในหลุมเจาะได้), การควบคุมทราย, การควบคุมการไหล downhole, และอุปกรณ์การเฝ้าดู downhole; ประเมินวิธีการยกเทียม; และยังเลือกอุปกรณ์พื้นผิวที่แยกของเหลวที่ผลิตได้ (น้ำมัน, ก๊าซธรรมชาติ, และน้ำ) อีกด้วย Reservoir evaluation Society of Petroleum Engineers SPE Certified Petroleum Professional Seismic to simulation "Petroleum Engineering". Britannica. สืบค้นเมื่อ 3 February 2012.  "America's Best- And Worst-Paying Jobs". Forbes.com. 2007-06-04. สืบค้นเมื่อ 2011-12-18.  (3-11-10).aspx "NACE:". Naceweb.org. สืบค้นเมื่อ 2011-12-18.  ตัวอย่างของแผนที่ที่ใช้โดยวิศวกรอ่างกักเก็บ (อังกฤษ: reservoir engineer) เพื่อกำหนดตำแหน่งที่จะเจาะบ่อ หน้าจอนี้เป็นแผนที่โครงสร้างที่สร้างขึ้นโดยซอฟต์แวร์แผนที่รูปร่างของพื้นดิน (อังกฤษ: contour map) สำหรับอ่างเก็บกักก๊าซและน้ำมันลึก 8500 ฟุตในทุ่ง Erath, Vermilion Parish, Erath, รัฐลุยเซียนา. ช่องว่างจากซ้ายไปขวา, ใกล้ด้านบนของแผนที่รูปร่างชี้ให้เส้นรอยเลื่อน (อังกฤษ: fault line) เส้นรอยแยกนี้อยู่ระหว่างเส้นคอนทัวฟ้า/สีเขียวและเส้นคอนทัวม่วง/แดง/สีเหลือง เส้นคอนทัววงกลมสีแดงอ่อนที่อยู่ตรงกลางของแผนที่แสดงให้เห็นด้านบนของอ่างเก็บน้ำมัน เนื่องจากก๊าซจะลอยอยู่เหนือน้ำมัน, เส้นคอนทัวสีแดงอ่อนแสดงเครื่องหมายที่เป็นรอยต่อระหว่างก๊าซกับน้ำมัน ถั่วปากอ้า ========== ถั่วปากอ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicia faba) เป็นสปีชีส์หนึ่งของถั่วมีฝักในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบแอฟริกาเหนือและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง่าย ถั่วปากอ้า (ชื่อวิทยาศาสตร์: Vicia faba) เป็นสปีชีส์หนึ่งของถั่วมีฝักในวงศ์ Fabaceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบแอฟริกาเหนือและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ถั่วปากอ้ามีสารพิษที่ทำให้เกิดโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกง่าย ต้นถั่วปากอ้าเป็นพืชล้มลุก เมื่อโตเต็มที่สูงประมาณ 0.5-1.7 เมตร ภาคตัดขวางของลำต้นคล้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใบยาว 10-25 เซนติเมตร กิ่งหนึ่งมี 2-7 ใบ และใบมีสีเขียวอมเทาไม่เหมือนกับพืชอื่นๆ ในสกุลเดียวกัน ต้นถั่วปากอ้าไม่มียอดไว้สำหรับเลื้อย ดอกของต้นถั่วยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร มี 5 กลีบ โดยที่กลีบบนและกลีบรองเกสรมีสีขาวล้วน ส่วนกลีบข้างเป็นสีขาวและมีจุดตรงกลางเป็นสีดำ ฝักถั่วของมันมีขนาดกว้างและมีขนเล็กๆ หนาแน่นปกคลุม มีสีเขียวเมื่อยังอ่อนและเป็นสีน้ำตาลดำเมื่อแก่ ในธรรมชาติฝักถั่วยาว 5-10 เซนติเมตรและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร แต่จากการพัฒนาการเพาะพันธุ์เพื่อการเกษตรทำให้ฝักยาว 15-25 เซนติเมตรและหนาถึง 2-3 เซนติเมตร ในหนึ่งฝักมีเมล็ดถั่ว 3-8 เมล็ด มีรูปร่างกว้างและแบน ในธรรมชาติเมล็ดคล้ายรูปวงรีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-10 มิลลิเมตร แต่พันธุ์สำหรับเพาะปลูก เมล็ดยาว 20-25 มิลลิเมตร กว้าง 15 มิลลิเมตร หนา 5-10 มิลลิเมตร ถั่วปากอ้ามีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์ (2n) จำนวน 6 คู่ โดย 5 คู่มีเซนโทรเมียร์ที่เกือบถึงจุดปลาย (acrocentric) และ 1 คู่อยู่ที่กึ่งกลางพอดี (metacentric) ถั่วปากอ้ามีสามสายพันธุ์แบ่งตามขนาดของเมล็ดคือ V. faba var. major – broad bean ฝักกลม กว้างและยาว เมล็ดขนาดใหญ่, winsor bean ฝักกลมแบน V. faba var. minor – field bean, tic bean เมล็ดขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ปลูกเป็นอาหารสัตว์หรือปุ๋ยพืชสด V. faba var. equita – horse bean เมล็ดขนาดกลาง ถั่วปากอ้ารับประทานได้ตั้งแต่เป็นฝักอ่อน โดยนำมานึ่งหรือต้มใส่เกลือเล็กน้อย ฝักแก่นนำไปลวกน้ำเดือด ปอกเปลือก แกะเมล็ดข้างในไปต้มหรือนึ่งให้สุก ใช้ทำอาหารได้หลายแบบ เช่น ซุป สลัด ผัดกับเนื้อสัตว์ หรืออบรับประทานเป็นของว่างก็ได้ ถั่วปากอ้าดิบมีอัลคาลอยด์ชนิดวิซีนและโควิซีนที่สามารถกระตุ้นอาการเม็ดเลือดแดงแตกในผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydrogenase บริเวณที่เป็นจุดกำเนิดของถั่วนี้เกี่ยวข้องกับพื้นที่ที่มีมาลาเรีย การศึกษาในหลอดทดลองพบว่าการแตกที่เกิดจากการกระตุ้นของถั่วปากอ้าเป็นการป้องกันมาลาเรีย เนื่องจากโปรโตซัวที่ก่อโรคมาลาเรีย เช่น Plasmodium falciparum จะไว่ต่อการแตกของเม็ดเลือดแดงที่เกิดจากการพร่องเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydrogenase ถั่วปากอ้ามีอีโวโดปามากซึ่งเป็นสารที่ใช้รักษาโรคพาร์คินสัน เปลือกหุ้มเมล็ดถั่วปากอ้ามีแทนนินที่เป็นโพลิเมอร์มากโดยเฉพาะชนิด proanthocyanidinที่สามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ได้ ถั่วปากอ้า โดย รศ.นิพนธ์ ไชยมงคล กรณิศ รัตนามหัทธนะ. เมล็ดอ่อนถั่วปากอ้า. ครัว. ปีที่ 19 ฉบับที่ 227. พฤษภาคม 2556. หน้า 14 Kathrynne Holden. "Fava Beans, Levodopa, and Parkinson's Disease".  Russ Parsons. "The Long History of the Mysterious Fava Bean".  Nelson, L. David; Cox, M. Michael. 2005. “Chapter 14- Glycolysis, Gluconeogenesis, and the Pentose Phosphate Pathway” in Principles of Biochemistry. Freeman, New York. p. 551. Vered, Y; Grosskopf, I; Palevitch, D; Harsat, A; Charach, G; Weintraub, MS; Graff, E (1997). "The influence of Vicia faba (broad bean) seedlings on urinary sodium excretion". Planta medica 63 (3): 237–40. PMID 9225606. doi:10.1055/s-2006-957661.  The digestibility in piglets of faba bean (Vicia faba L.) as affected by breeding towards the absence of condensed tannins. A. F. B. Van Der Poela, L. M. W. Dellaerta, A. Van Norela and J. P. F. G. Helspera, British Journal of Nutrition (1992), Volume 68 – Issue 03, pp. 793–800, Cambridge University Press doi:10.1079/BJN19920134 Qualitative analysis and HPLC isolation and identification of procyanidins from vicia faba. Rachid Merghem, Maurice Jay, Nathalie Brun and Bernard Voirin, Phytochemical Analysis, Volume 15, Issue 2, pages 95–99, March/April 2004 doi:10.1002/pca.731 The polyphenolic content and enzyme inhibitory activity of testae from bean (Vicia faba) and pea (Pisum spp.) varieties. D. Wynne Griffiths, Journal of the Science of Food and Agriculture, Volume 32, Issue 8, pages 797–804, August 1981, doi:10.1002/jsfa.2740320808 Fava beans and G6PD Deficiency information Vicia faba at Purdue University Alternative Field Crops Manual at Purdue University ถั่วปากอ้า ต้นถั่วปากอ้าขณะออกดอก การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Magnoliophyta ชั้น: Magnoliopsida อันดับ: Fabales วงศ์: Fabaceae วงศ์ย่อย: Faboideae เผ่า: Vicieae สกุล: Vicia สปีชีส์: V.  faba ชื่อทวินาม Vicia faba L. ถั่วปากอ้าเมล็ดแก่ ดิบ คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) พลังงาน 1,425 kJ (341 kcal) คาร์โบไฮเดรต 58.29 g ใยอาหาร 25 g ไขมัน 1.53 g โปรตีน 26.12 g วิตามิน ไทอามีน (บี1) (48%) 0.555 mg ไรโบเฟลวิน (บี2) (28%) 0.333 mg ไนอาซิน (บี3) (19%) 2.832 mg วิตามินบี6 (28%) 0.366 mg โฟเลต (บี9) (106%) 423 μg วิตามินซี (2%) 1.4 mg วิตามินเค (9%) 9 μg แร่ธาตุ แคลเซียม (10%) 103 mg เหล็ก (52%) 6.7 mg แมกนีเซียม (54%) 192 mg แมงกานีส (77%) 1.626 mg ฟอสฟอรัส (60%) 421 mg โพแทสเซียม (23%) 1062 mg โซเดียม (1%) 13 mg สังกะสี (33%) 3.14 mg Link to USDA Database entry หน่วย μg = ไมโครกรัม ● mg = มิลลิกรัม IU = หน่วยสากล ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐอเมริกาสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA Nutrient Database ฝักถั่วและเมล็ด ถั่วปากอ้าใช้รับประทานเป็นอาหารขบเคี้ยว ปอนด์สเตอร์ลิง ============== ปอนด์สเตอร์ลิง (อังกฤษ: pound sterling) คือ มาตราเงินของอังกฤษ ปอนด์สเตอร์ลิง (อังกฤษ: pound sterling) คือ มาตราเงินของอังกฤษ เงินปอนด์เริ่มใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณ กล่าวคือ เมื่อประมาณ พ.ศ. 1320 ราชอาณาจักรซักซอน (อาจเรียกว่าพวกอังกฤษสมัยโบราณก็ได้ แต่ความจริงแล้ว ซักซอนไม่ได้เป็นบรรพบุรุษโดยตรงของอังกฤษปัจจุบัน) ได้ทำเหรียญกษาปณ์ขึ้นจากโลหะเงินแท้ น้ำหนัก 1 ปอนด์ ซึ่งได้เหรียญเงินเป็นจำนวน 240 อัน เรียกว่าเหรียญสเตอร์ลิง และด้วยน้ำหนักเท่ากับ 1 ปอนด์นี้เอง เมื่อต้องใช้จ่ายเงิน ก็จะบอกค่าเป็นจำนวนปอนด์ของเหรียญสเตอร์ลิง (pounds of sterlings) และภายหลังเรียกสั้นลงว่า ปอนด์สเตอร์ลิง (pound sterling) ครั้นเมื่อพวกนอร์มัน (Norman) เข้ามาครองอำนาจแทนพวกซักซอน พวกนี้ได้แบ่งหน่วยเงินตราปอนด์ออกเป็นหน่วยย่อย คือ 1 ปอนด์ แบ่งได้ 20 ชิลลิง (shilling) และ 1 ชิลลิง ยังแบ่งได้อีกเป็น 12 เพนนี (เอกพจน์ penny, พหูพจน์ pennies หรือ pence) เรื่องค่าของปอนด์นั้นยังไม่จบ เพราะตัวย่อของปอนด์นั้นมีปัญหา เมื่ออักษรย่อของปอนด์นั้น ใช้ lb หรือ £ ซึ่งทำให้สับสน และอักษรย่อ หรือเครื่องหมายดังกล่าว มีที่มาจากคำว่า libra ในภาษาละตินสมัยกลาง ความจริงแล้ว คำว่า ลิบรา ก็คือ ตาชั่ง (คำเดียวกับที่เรียกกลุ่มดาวราศีตุล) สำหรับอักษร £. นั้น ก็คือตัว L นั่นเอง (ใช้ได้ทั้งสองแบบ) ในตำราเก่าๆ บางครั้งเขียน l. เฉยๆ ก็มี ส่วนชิลลิงนั้น ใช้อักษรย่อว่า s เฉย ๆ ตัวอักษรนี้ไม่ได้ย่อจาก shilling แต่มาจาก solidus ในภาษาละติน สำหรับหน่วยเล็กสุด คือ เพนนีนั้น ย่อเป็น d เพราะในภาษาละตินนั้น หน่วยเล็กสุดของค่าเงินคือ denarius เราจึงอาจพบการเขียนบอกจำนวนเงินเป็น 2l. 8s. 5d. นั่นคือ 2 ปอนด์ 8 ชิลลิง กับอีก 5 เพนนี สำหรับเหรียญชิลลิงนั้น มีค่าเท่ากับ 12 เพนนี เดิมเรียกว่าเทสทัน หรือเทสทูน (teston, testoon) เริ่มมีครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2047 มีการแกะสลักเป็นพระพักตร์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 7 ครั้นในสมัยรัชกาลพระเจ้าเฮนรีที่ 8 ก็ยังคงใช้เหรียญค่านี้ แต่เรียกใหม่ว่า ชิลลิง ส่วนที่มาของชื่อนั้น จริงๆ แล้วยังไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่เข้าใจว่าเรียกตามเหรียญของพวกอังโกล-ซักซอน คือสคีลลิง (scilling, scylling) และบางรัฐของเยอรมนีก็มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ที่เรียกว่า ชิลลิง (schilling) เหมือนกัน ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2464 ค่าของชิลลิงเป็นแต่ชื่อเรียกเท่านั้น ไม่ได้มีการผลิตเหรียญเงินค่าชิลลิงออกมา และอีก 26 ปีต่อมา มีการผลิตเหรียญชิลลิง โดยใช้โลหะผสมระหว่างทองแดง และนิกเกิล เรียกว่าโลหะคิวโพรนิเกิล เมื่อถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 อังกฤษได้เปลี่ยนมาตราเงินแบบเทียบร้อยตามหลักสากล คือ 100 เพนนี เป็น 1 ปอนด์ โดยไม่ใช้หน่วยชิลลิงอีก ทำให้อักษรย่อชิลลิงจึงหมดไป อักษรย่อเพนนี เปลี่ยนจาก d เป็น p ซึ่งย่อมาจากคำว่าเพนนี (penny) โดยตรง ธนบัตรประกอบด้วย 5, 10, 20 และ 50 ปอนด์ เหรียญประกอบด้วย 1, 2, 5, 10, 20, 50 เพนนี และ 1, 2 ปอนด์ British Indian Ocean Territory Currency Commemorative UK Pounds and Stamps issued in GBP have been issued. Source:[1], [2] £1,000 gold Kilo Coin marks Queen's Diamond Jubilee| ITV News Heiko Otto (ed.). "ธนบัตรของสหราชอาณาจักร". สืบค้นเมื่อ 2017-03-27.  (อังกฤษ) (เยอรมัน) Heiko Otto (ed.). "ธนบัตรเงินปอนด์ในสกอตแลนด์".  (อังกฤษ) (เยอรมัน) Heiko Otto (ed.). "ธนบัตรเงินปอนด์ในไอร์แลนด์เหนือ".  (อังกฤษ) (เยอรมัน) บทความนี้อาจต้องการพิสูจน์อักษร ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ ปอนด์สเตอร์ลิง รหัส ISO 4217 GBP ใช้ใน  สหราชอาณาจักร 9 British territories  บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี  หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (alongside Falkland Islands pound)  ยิบรอลตาร์ (alongside Gibraltar pound)  เกิร์นซีย์ (local issue: Guernsey pound)  ไอล์ออฟแมน (local issue: Manx pound)  เจอร์ซีย์ (local issue: Jersey pound) Saint Helena, Ascension and Tristan da Cunha (alongside Saint Helena pound in Saint Helena and Ascension)  เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช (alongside Falkland Islands pound)  บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี (de jure, US Dollar used de facto) อัตราเงินเฟ้อ 2.2%, September 2012. ข้อมูลจาก UK National Statistics หลักการ CPI ERM ตั้งแต่ 8 October 1990 ถอนตัว 16 September 1992 (Black Wednesday) ผูกค่าโดย Falkland Islands pound (at par) Gibraltar pound (at par) Saint Helena pound (at par) Jersey pound (local issue) Guernsey pound (local issue) Manx pound (local issue) Scotland notes (local issue) Northern Ireland notes (local issue) หน่วยย่อย 1/100 penny สัญลักษณ์ £ penny p พหูพจน์ pounds penny pence เหรียญ เหรียญที่ใช้บ่อย 1p, 2p, 5p, 10p, 20p, 50p, £1, £2 เหรียญที่ไม่ใช้บ่อย £5 25p £1,000 ธนบัตร ธนบัตรที่ใช้บ่อย £5, £10, £20, £50 ธนบัตรที่ไม่ใช้บ่อย £1,£100 ธนาคารกลาง Bank of England เว็บไซต์ www.bankofengland.co.uk โรงพิมพ์ธนบัตร printers English (inc. Wales) notes: Bank of England Scottish notes: Bank of Scotland Royal Bank of Scotland Clydesdale Bank Northern Irish notes: Northern Bank First Trust Bank Ulster Bank Bank of Ireland Crown dependency notes: States of Guernsey States of Jersey Isle of Man Government เว็บไซต์ websites Bank of England Bank of Scotland Royal Bank of Scotland Clydesdale Bank Northern Bank First Trust Bank Ulster Bank Bank of Ireland Isle of Man Government States of Jersey[ลิงก์เสีย] โรงกษาปณ์ Royal Mint เว็บไซต์ www.royalmint.com All frequently used coins except the £2 coin (coins shown are those after the extensive 2008 redesign). All frequently used coins except the £2 coin (coins shown are those after the extensive 2008 redesign). เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนสกุลเงินปอนด์สเตอร์ลิง ภาพ มูลค่า เส้นผ่านศูนย์กลาง ความหนา น้ำหนัก ส่วนประกอบ ปีที่ประกาศใช้ ด้านหน้า ด้านหลัง 1 เพนนี 20.03 มม. 1.65 มม. 3.56 กรัม เหล็กกล้าชุบทองแดง พ.ศ. 2514 2 เพนซ์ 25.90 มม. 1.85 มม. 7.12 กรัม พ.ศ. 2514 5 เพนซ์ 18.00 มม. 1.70 มม. 3.25 กรัม ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2533 10 เพนซ์ 24.50 มม. 1.85 มม. 6.50 กรัม พ.ศ. 2535 20 เพนซ์ 21.40 มม. 1.70 มม. 5.00 กรัม พ.ศ. 2525 25 เพนซ์ 38.61 มม. 2.89 มม. 28.28 กรัม พ.ศ. 2515 50 เพนซ์ 27.30 มม. 1.78 มม. 8.00 กรัม พ.ศ. 2540 1 ปอนด์ 22.50 มม. 3.15 มม. 9.50 กรัม ทองเหลืองผสมนิเกิล (นิเกิลบราส) พ.ศ. 2526 2 ปอนด์ 28.40 มม. 2.50 มม. 12.00 กรัม วงแหวน: ทองเหลืองผสมนิเกิล (นิเกิลบราส) ตรงกลาง: ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2540 5 ปอนด์ 38.61 มม. 2.89 มม. 28.28 กรัม ทองแดงผสมนิเกิล (คิวโปรนิเกิล) พ.ศ. 2533 อำเภอบางใหญ่ ============ สำหรับบางใหญ่ ในความหมายอื่น ดูที่ บางใหญ่ (แก้ความกำกวม) บางใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี มีประชากรค่อนข้างมาก แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่คลองสามสายมาบรรจบกันได้แก่ ปลายคลองอ้อมนนท์ สุดคลองบางกอกน้อย และต้นคลองบางใหญ่ แต่ปัจจุบันตัวอำเภอได้ย้ายมาอยู่ในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ซึ่งได้รับความเจริญอย่างรวดเร็วจากการก่อสร้างถนนกาญจนาภิเษกและถนนรัตนาธิเบศร์ มีบริการที่ทันสมัย เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ตลาดกลางของจังหวัด หน่วยงานราชการ หมู่บ้านจัดสรรที่เกิดใหม่ ดังนั้น พื้นที่การเกษตรอาจไม่พบเห็นในเขตเมืองแล้ว โดยส่วนหนึ่งของเขตเมืองบางใหญ่อยู่ในพื้นที่ของอำเภอบางบัวทอง สำหรับบางใหญ่ ในความหมายอื่น ดูที่ บางใหญ่ (แก้ความกำกวม) บางใหญ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี มีประชากรค่อนข้างมาก แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณที่คลองสามสายมาบรรจบกันได้แก่ ปลายคลองอ้อมนนท์ สุดคลองบางกอกน้อย และต้นคลองบางใหญ่ แต่ปัจจุบันตัวอำเภอได้ย้ายมาอยู่ในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ซึ่งได้รับความเจริญอย่างรวดเร็วจากการก่อสร้างถนนกาญจนาภิเษกและถนนรัตนาธิเบศร์ มีบริการที่ทันสมัย เช่น โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า ตลาดกลางของจังหวัด หน่วยงานราชการ หมู่บ้านจัดสรรที่เกิดใหม่ ดังนั้น พื้นที่การเกษตรอาจไม่พบเห็นในเขตเมืองแล้ว โดยส่วนหนึ่งของเขตเมืองบางใหญ่อยู่ในพื้นที่ของอำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกค่อนไปทางใต้ของจังหวัด ห่างจากตัวจังหวัดนนทบุรี 8.11 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอไทรน้อยและอำเภอบางบัวทอง มีคลองบางแพรก, แนวเส้นขนานคลองบางแพรก, แนวด้านหลังโรงเรียนอนุบาลรัตนาธิเบศร์, ลำรางบางน้อย, ซอยอธิเบศร์ 1, ลำรางบางน้อย, แนวรั้วหมู่บ้านกฤษดานคร 10, แนวเขตหมู่บ้านเกล้ารัตนา, แนวเขตหมู่บ้านร่มรื่นวิลล์, แนวด้านหลังหมู่บ้านเกล้ารัตนา, คลองบางเดื่อ (วัดบางเดื่อ) และคลองอ้อมเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองนนทบุรี มีคลองวัดประชารังสรรค์, ทางหลวงท้องถิ่น นบ.ถ 1-0010 (โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการฯ-วัดสวนแก้ว), ซอยบางกร่าง 25 (หน้าค่าย), ถนนหลังวัดยุคันธราวาส และคลองวัดยุคันธราวาสเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางกรวย มีคลองบางกอกน้อย, คลองบางค้อ, คลองนาคเกี้ยว, คลองบางนา, คลองหัวคูใน (วัดพระเงิน), ถนนบางม่วง-บางคูลัด, คลองจีนบ่าย และคลองขุดใหม่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพุทธมณฑล (จังหวัดนครปฐม) มีคลองนราภิรมย์เป็นเส้นแบ่งเขต ท้องที่ที่เป็นอำเภอบางใหญ่ทุกวันนี้เดิมอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอบางใหญ่ (บางกรวย) และอำเภอบางบัวทองซึ่งมีพื้นที่กว้างขวางมาก ในปี พ.ศ. 2460 ทางราชการจึงได้พิจารณาแบ่งตำบลบางใหญ่และบางม่วงจากอำเภอบางใหญ่ (บางกรวย) และแบ่งตำบลบางแม่นาง เสาธงหิน และบ้านใหม่จากอำเภอบางบัวทองมาจัดตั้งเป็น กิ่งอำเภอบางแม่นาง เพื่อความสะดวกในการปกครอง ในช่วงแรกตั้งที่ว่าการกิ่งอำเภออยู่บริเวณวัดส้มเกลี้ยง หมู่ที่ 2 ตำบลบางแม่นาง ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2464 กิ่งอำเภอบางแม่นางได้รับโอนตำบลบางเลนจากอำเภอนนทบุรีมาอยู่ในการปกครอง และยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอบางแม่นาง ตามประกาศกระทรวงนครบาล ต่อมาในปี พ.ศ. 2466 ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอมาตั้งในท้องที่หมู่ที่ 2 ตำบลบางม่วง บริเวณปากคลองบางใหญ่แยกคลองอ้อมนนท์และคลองบางกอกน้อย ประชาชนจึงนิยมเรียกอำเภอนี้ว่า "บางใหญ่" ตามไปด้วย จนกระทั่งในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2473 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลี่ยนชื่ออำเภอบางแม่นางเป็น อำเภอบางใหญ่ ตามความคุ้นเคยของประชาชน ส่วนอำเภอบางใหญ่ (เดิม) นั้นเปลี่ยนชื่อเป็น "อำเภอบางกรวย" แทน เพื่อไม่ให้ซ้ำซ้อนกัน ครั้นในปี พ.ศ. 2486 ประเทศไทยประสบปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำอย่างหนักเพราะได้รับผลกระทบจากสงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดนนทบุรีถูกยุบลงเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณราชการ อำเภอบางใหญ่ถูกโอนไปขึ้นกับจังหวัดธนบุรีพร้อมกับอำเภอบางบัวทองและอำเภอบางกรวย จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2489 ได้มีการจัดตั้งจังหวัดนนทบุรีขึ้นมาอีกครั้ง อำเภอบางใหญ่จึงกลับมาอยู่ในการปกครองของทางจังหวัดจนถึงปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 อำเภอบางใหญ่พร้อมทั้งส่วนราชการอื่น ๆ ได้ย้ายที่ทำการไปตั้งในหมู่บ้านบางใหญ่ซิตี้ ใกล้จุดตัดระหว่างถนนรัตนาธิเบศร์กับถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี เนื่องจากได้รับบริจาคที่ดินให้สร้างศูนย์ราชการขึ้น นับแต่นั้นมา การเป็นที่ตั้งหน่วยงานการบริหารราชการ ประกอบกับการโฆษณาของหมู่บ้านจัดสรรแห่งนั้นทำให้บางใหญ่ซิตี้กลายเป็นชุมชนบางใหญ่และย่านบางใหญ่ในความรับรู้ของคนทั่วไป ส่วนตัวอำเภอบางใหญ่เดิมนั้นปัจจุบันมักถูกเรียกว่า "บางใหญ่เก่า" และอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางม่วง อำเภอบางใหญ่แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 6 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งย่อยออกเป็นหมู่บ้าน รวม 69 หมู่บ้าน ได้แก่ ท้องที่อำเภอบางใหญ่ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลบางม่วง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางม่วง (เฉพาะหมู่ที่ 2 และบางส่วนของหมู่ที่ 12) ตำบลบางเลน (เฉพาะหมู่ที่ 5 และบางส่วนของหมู่ที่ 4, 11) และตำบลเสาธงหิน (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 1-3) เทศบาลตำบลบางใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางแม่นาง (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 3, 5-8) ตำบลบางใหญ่ (เฉพาะหมู่ที่ 2 และบางส่วนของหมู่ที่ 1, 3-6) และตำบลบ้านใหม่ (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 1, 2, 4) เทศบาลตำบลเสาธงหิน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเสาธงหิน (เฉพาะหมู่ที่ 4-8 และบางส่วนของหมู่ที่ 1-3) เทศบาลตำบลบางเลน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางเลน (เฉพาะหมู่ที่ 1-3, 6-10 และบางส่วนของหมู่ที่ 4, 11) เทศบาลตำบลบ้านบางม่วง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางม่วง (เฉพาะหมู่ที่ 1, 3-11, 13-15 และบางส่วนของหมู่ที่ 12) องค์การบริหารส่วนตำบลบางแม่นาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางแม่นาง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบางใหญ่) องค์การบริหารส่วนตำบลบางใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางใหญ่ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบางใหญ่) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านใหม่ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบางใหญ่) ถนนสายสำคัญของอำเภอบางใหญ่ ได้แก่ โรงพยาบาลบางใหญ่ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รัตนาธิเบศร์ รัตนา ศิริพูล. นนทบุรี. กรุงเทพฯ : บริษัท ต้นอ้อ ๑๙๙๙ จำกัด, 2543, หน้า 53. กรมทางหลวง. "สอบถามระยะทางระหว่างจังหวัดหรืออำเภอ." รัตนา ศิริพูล. นนทบุรี. กรุงเทพฯ : บริษัท ต้นอ้อ ๑๙๙๙ จำกัด, 2543, หน้า 52. องค์การบริหารส่วนตำบลบางแม่นาง. "ประวัติและตราสัญลักษณ์: ประวัติตำบลบางแม่นาง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.bangmaenang.go.th/default.php?modules=fckeditor&fck_id=4&view_id=55&orderby=1 2553. สืบค้น 30 กันยายน 2554. "ประกาศกระทรวงนครบาล เรื่อง ตั้งอำเภอบางแม่นาง จังหวัดนนทบุรี". ราชกิจจานุเบกษา 38 (0 ก): 23–24. 24 เมษายน 2464.  สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางใหญ่. "ข้อมูลอำเภอบางใหญ่." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://bangyaidho.blogspot.com.es/2011/07/blog-post_3907.html 2554. สืบค้น 11 กันยายน 2555. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ยุบกิ่งอำเภอ เปลี่ยนชื่อและย้ายอำเภอกับโอนตำบล". ราชกิจจานุเบกษา 47 (0 ก): 226–228. 19 ตุลาคม 2473.  "พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช ๒๔๘๙". ราชกิจจานุเบกษา 63 (29 ก): 315–317. 9 พฤษภาคม 2489.  "สภาวะกึ่งเมืองกึ่งชนบทไทย: "บ้านบางใหญ่" ในอดีต และ "บ้านบางใหญ่เก่า" ในปัจจุบัน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://learners.in.th/blog/rurban/276342 2552. สืบค้น 30 กันยายน 2554. เว็บไซต์เทศบาลตำบลบางม่วง พิกัดภูมิศาสตร์: 13°52′36″N 100°24′14″E / 13.876667°N 100.403889°E / 13.876667; 100.403889 แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ อำเภอบางใหญ่ แผนที่ จาก มัลติแมป โกลบอลไกด์ หรือ กูเกิลแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ จาก เทอร์ราเซิร์ฟเวอร์ ภาพถ่ายดาวเทียม จาก วิกิแมเปีย บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางใหญ่ บ้านเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอบางใหญ่ อักษรโรมัน Amphoe Bang Yai จังหวัด นนทบุรี ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 96.398 ตร.กม. ประชากร 143,094 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 1,484.41 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 1203 รหัสไปรษณีย์ 11140 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอบางใหญ่ เลขที่ 9/317 หมู่ที่ 6 ซอยบางใหญ่ซิตี้ ซอย 7 ถนนกาญจนาภิเษก ตำบลเสาธงหิน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140 พิกัด 13°52′36″N 100°24′14″E / 13.87667°N 100.40389°E / 13.87667; 100.40389 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2595 0244-5 ต่อ 18, 15 หมายเลขโทรสาร 0 2595 0245 ต่อ 19, 22 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. บางม่วง (Bang Muang) 15 หมู่บ้าน 4. เสาธงหิน (Sao Thong Hin) 08 หมู่บ้าน 2. บางแม่นาง (Bang Mae Nang) 18 หมู่บ้าน 5. บางใหญ่ (Bang Yai) 06 หมู่บ้าน 3. บางเลน (Bang Len) 11 หมู่บ้าน 6. บ้านใหม่ (Ban Mai) 11 หมู่บ้าน ถนนกาญจนาภิเษก (ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9) ถนนรัตนาธิเบศร์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302) ถนนบางกรวย-ไทรน้อย (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3215) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ถนนบางม่วง-บางคูลัด (ทางหลวงชนบท นบ.1001) ถนนบางรักใหญ่-บ้านใหม่ (ทางหลวงชนบท นบ.1009) ถนนบางใหญ่-บางคูลัด (ทางหลวงชนบท นบ.1026) ถนนไทรน้อย-ดอนตะลุมพุก (ทางหลวงชนบท นบ.5027) ทางหลวงชนบท นบ.1016 (แยกทางหลวงหมายเลข 9 - บ้านคลองกำนันจิตร) ทางหลวงชนบท นบ.5005 (ประชาอุทิศ-วัดหลังบาง) ทางหลวงชนบท นบ.5035 (แยกพ่อปู่-ตลาดบางคูลัด) ทางหลวงชนบท นบ.5014 (บ้านใหม่จงถนอม-บ้านใหม่) ทางหลวงท้องถิ่น นบ.ถ 1-0010 (โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการบางใหญ่-วัดสวนแก้ว) อัลมอนด์ ======== อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ (อังกฤษ: almond) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Prunus เมล็ดรับประทานได้ เป็นพืชพื้นเมืองในตะวันออกกลางและเอเชียใต้ ผลของอัลมอนด์เป็นผลแบบมีเมล็ดเดียว มีเปลือกชั้นนอกและและเปลือกแข็งหุ้มเมล็ดโดยที่ไม่จัดเป็นผลแบบนัท อัลมอนด์จะขายทั้งแบบที่เอาเปลือกออกแล้วหรือขายทั้งเปลือก หรือนำไปผ่านน้ำร้อนเพื่อทำให้เปลือกอ่อนลง และเอ็มบริโอยังคงเป็นสีขาว อัลมอนด์เขียว อัลมอนด์มีเปลือก (ซ้าย) และไม่มีเปลือก (ขวา) อัลมอนด์ที่ผ่านน้ำร้อน อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ (อังกฤษ: almond) เป็นพืชชนิดหนึ่งในสกุล Prunus เมล็ดรับประทานได้ เป็นพืชพื้นเมืองในตะวันออกกลางและเอเชียใต้ ผลของอัลมอนด์เป็นผลแบบมีเมล็ดเดียว มีเปลือกชั้นนอกและและเปลือกแข็งหุ้มเมล็ดโดยที่ไม่จัดเป็นผลแบบนัท อัลมอนด์จะขายทั้งแบบที่เอาเปลือกออกแล้วหรือขายทั้งเปลือก หรือนำไปผ่านน้ำร้อนเพื่อทำให้เปลือกอ่อนลง และเอ็มบริโอยังคงเป็นสีขาว อัลมอนด์เขียว อัลมอนด์มีเปลือก (ซ้าย) และไม่มีเปลือก (ขวา) อัลมอนด์ที่ผ่านน้ำร้อน ในภาษาอังกฤษ almond อ่านว่า /ˈɑmənd/ อามึนด์ หรือ /ˈæmənd/ แอมึนด์ โดยไม่ออกเสียง l [1] แต่ในภาษาไทยนิยมสะกดว่า อัลมอนด์ หรือ แอลมอนด์ "Full Report, Nutrient Data: Almonds". USDA. 2011.  บทความเกี่ยวกับพืชนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:พรรณพฤกษา อัลมอนด์ ต้นอัลมอนด์ที่ มาจอร์กา ประเทศสเปน การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Magnoliophyta ชั้น: Magnoliopsida อันดับ: Rosales วงศ์: Rosaceae สกุล: Prunus สกุลย่อย: Amygdalus สปีชีส์: P.  dulcis ชื่อทวินาม Prunus dulcis (Mill.) D.A.Webb อัลมอนด์ไม่อบ คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) พลังงาน 2,408 kJ (576 kcal) คาร์โบไฮเดรต 21.7 แป้ง 0.74 น้ำตาล lactose 3.89 0.0 ใยอาหาร 12.2 ไขมัน 49.42 อิ่มตัว 3.73 โปรตีน 21.22 วิตามิน วิตามินเอ บีตา-แคโรทีน lutein zeaxanthin (0%) 1 μg 1 μg วิตามินเอ 1 IU ไทอามีน (บี1) (18%) 0.211 mg ไรโบเฟลวิน (บี2) (85%) 1.014 mg ไนอาซิน (บี3) (23%) 3.385 mg กรดแพนโทเทนิก (บี5 ) (9%) 0.469 mg วิตามินบี6 (11%) 0.143 mg โฟเลต (บี9) (13%) 50 μg คลอรีน (11%) 52.1 mg วิตามินอี (175%) 26.2 mg วิตามินเค (0%) 0.0 μg แร่ธาตุ แคลเซียม (26%) 264 mg เหล็ก (29%) 3.72 mg แมกนีเซียม (75%) 268 mg แมงกานีส (109%) 2.285 mg ฟอสฟอรัส (69%) 484 mg โพแทสเซียม (15%) 705 mg โซเดียม (0%) 1 mg สังกะสี (32%) 3.08 mg องค์ประกอบอื่น น้ำ 4.7 หน่วย μg = ไมโครกรัม ● mg = มิลลิกรัม IU = หน่วยสากล ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐอเมริกาสำหรับผู้ใหญ่ เครื่องบินขับไล่ ================ เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้นๆ เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้นๆ คำว่า"ไฟเตอร์" (อังกฤษ: fighter) ไม่ได้เป็นคำที่ใช้ภาษาอังกฤษอย่างทางการจนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในกองบินของสหราชอาณาจักรเครื่องบินเหล่านี้ถูกเรียกว่า "เครื่องบินสอดแนม"(อังกฤษ: scout) จนถึงช่วงต้นปี พ.ศ. 2463 กองทัพบกสหรัฐอเมริกา เรียกเครื่องบินขับไล่ว่า "pursuit" อันหมายถึงเครื่องบินติดตาม(การใช้ชื่อนำหน้าเครื่องบินในยุคนั้นจึงเป็นตัว P) ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2459 จนถึงปลายปีพ.ศ. 2483 ในภาษาฝรั่งเศสและภาษาเยอรมนีจะใช้คำที่หมายความว่า "นักล่า" สิ่งนี้ถูกใช้ตามมากมายในภาษาอื่น ๆ ยกเว้นในภาษารัสเซียซึ่งเครื่องบินขับไล่ถูกเรียกว่า "истребитель" (ออกเสียงว่า "อิสเตรบิเตล"), ซึ่งหมายความว่า "ผู้ทำลาย" ถึงแม้ว่าคำว่า "เครื่องบินขับไล่" หรือ "ไฟเตอร์" ทางเทคนิคแล้วจะหมายถึงเครื่องบินที่ถูกออกแบบมาเพื่อยิงเครื่องบินลำอื่น การออกแบบดังกล่าวยังเป็นแบบหลากหลายบทบาทอย่างเครื่องบินขับไล่โจมตีและเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดินที่ขนาดเล็กกว่า ตัวอย่างเช่น ในสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพเรือสหรัฐอเมริกาพึงพอใจในเครื่องบินขับไล่มากกว่าเครื่องบินดำทิ้งระเบิด และพี-47 ธันเดอร์โบลท์ก็เป็นที่นิยมใช้ในการโจมตีภาคพื้นดิน เอฟ-111 ถูกใช้เพื่อเป็นเพียงเครื่องบินโจมตีทิ้งระเบิดเท่านั้น เครื่องบินทิ้งระเบิดโดยทั่วไปแล้วจะหมายถึงบทบาทในการทิ้งระเบิดในระยะไกล ความไม่ชัดเจนนี้ได้ตามมาด้วยการใช้เครื่องบินขับไล่ในการโจมตีทหารราบและสิ่งก่อสร้างด้วยการใช้การยิงกราดลงมาจากฟ้าหรือทิ้งระเบิด หนึ่งในเครื่องบินขับไล่ที่แพงที่สุดอย่างเช่น เอฟ-14 ทอมแคท และ เอฟ-15 อีเกิล ถูกใช้เป็นเครื่องบินสกัดกั้นในทุกสภาพอากาศเช่นเดียวกับการเป็นเครื่องบินขับไล่ครองอากาศ มีเพียงตอนช่วงท้ายเท่านั้นที่พวกมันมาทำหน้าที่อากาศสู่พื้น เครื่องบินขับไล่/โจมตี หลายภารกิจอย่าง เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ท มักถูกกว่าและทำหน้าที่ในการโจมตีภาคพื้นดิน หรือในกรณีของเอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทจะเข้าแทนที่เพราะความสามารถที่หลากหลายเป็นพิเศษของเครื่องบิน เครื่องบินขับไล่ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบโต้การใช้อากาศยานและเรือบินในการทำหน้าที่ลาดตระเวนสอดแนมและโจมตีภาคพื้นดินในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เครื่องบินขับไล่ยุคแรก ๆ นั้นมีขนาดเล็กและมีอาวุธที่เบามากเมื่อเทียบกับเครื่องบินขับไล่ในปัจจุบัน และมักเป็นเครื่องบินปีกสองชั้น ต่อมา เมื่อสงครามทางอากาศและการครองอากาศเริ่มมีความสำคัญมากขึ้น ในสงครามโลกครั้งที่สองเครื่องบินขับไล่เป็นเครื่องบินปีกเดี่ยวที่ทำจากเหล็กพร้อมปืนใหญ่หรือปืนกลที่ปีก เมื่อสิ้นสุดสงครามเครื่องยนตร์เทอร์โบเจ็ทก็เริ่มเข้ามาแทนที่เครื่องยนต์ลูกสูบเพราะแรงขับเคลื่อนที่ดีกว่า และเพราะอาวุธใหม่ ๆ เริ่มเข้ามาอีกมาก เครื่องบินขับไล่ไอพ่นในปัจจุบันมีเครื่องยนต์เทอร์โบแฟนหนึ่งหรือสองเครื่องยนต์ และติดตั้งเรดาร์เพื่อใช้ในการหาเป้าหมาย อาวุธจะประกอบด้วยขีปนาวุธอากาศสู่อากาศเป็นหลัก พร้อมกับปืนใหญ่เป็นอาวุธรอง (โดยปกติแล้วจะมีขนาด 20 และ 30 ม.ม.) อย่างไรก็ตาม พวกมันก็สามารถใช้ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นได้เช่นเดียวกับระเบิดนำและไม่นำวิถี ความว่าเครื่องบินขับไล่หรือไฟเตอร์นั้นถูกใช้ครั้งแรกเพื่อบรรยายถึงเครื่องบินสองที่นั่งพร้อมความสามารถในการขนปืน เครื่องบินขับไล่แรกๆ นั้นก็คือ"กันบัส"ที่เป็นแบบทดลองของบริษัทวิกเกอร์สในอังกฤษซึ่งมีรุ่นดีสุดที่เรียกว่าวิกเกอร์ส เอฟ.บี.5 กันบัสในปีพ.ศ. 2457 จุดด้อยของเครื่องบินชนิดนี้คือมันช้า ไม่นานผู้คนก็เริ่มรู้ว่าเครื่องบินนั้นจะต้องรวดเร็วเพื่อไล่เหยื่อของมันให้ทัน โชคดีสำหรับเครื่องบินทางทหารอีกชนิดหนึ่งที่ได้สร้างออกมาเรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของเครื่องบินขับไล่ที่มีประสิทธิภาพ มันมีพื้นฐานมาจากเครื่องบินที่รวดเร็วก่อนสงครามที่ใช้เพื่อการแข่งขัน เครื่องบินสอดแนมของกองทัพไม่ได้ถูกคาดว่าจะสามารถบรรทุกอาวุธได้ แต่ก็เน้นไปที่ความเร็วเพื่อทำให้มันไปถึงจุดที่มันจะตเองทำการสอดแนมและจากนั้นก็กลับมารายงานได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็ทำให้มันยากที่ตะตกเป็นเป้าของปืนใหญ่ต่อต้านอากาศยานหรือเครื่องบินติดอาวุธของข้าศึก ในทางปฏิบัติ ไม่นานหลังจากที่สงครามเริ่มต้น นักบินเครื่องบินสอดแนมเริ่มติดอาวุธให้ตัวเองเป็นปืนพก ปืนยาว และระเบิดมือเพื่อโจมตีเครื่องบินของศัตรู มันเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เพราะอาวุธสำหรับเครื่องบินสอดแนมในตอนนั้นยังไม่มี อีกวิธีหนึ่งคือการสร้างเครื่องบินสอดแนมขับไล่อย่างแอร์โค ดีเอช.2 ที่มีใบพัดอยู่ด้านหลังของนักบิน ข้อเสียของมันคือแรกฉุกที่มากของโครงสร้างแบบดังกล่าวซึ่งทำให้มันช้ากว่าเครื่องบินที่ไล่หลังมันอยู่ แบบต่อๆ มาจึงมีการติดปืนกลบนเครื่องบินขับไล่ที่สามารถยิงออกนอกวงโค้งของใบพัดได้ มีเพียงสองทางเลือกเท่านั้นที่ถูกใช้เป็นอย่างแรกกับเครื่องบินติดตาม ทางเลือกหนึ่งคือการให้มีนักบินคนที่สองที่จะนั่งอยู่ที่ด้านหลังของนักบินเพื่อเล็งและยิงปืนกลเข้าใส่เครื่องบินข้าศึก อย่างไรก็ตามวิธีนี้ก็มีข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่ที่จะต้องป้องกันตนเอง และยากที่นักบินทั้งสองจะทำงานร่วมกันได้เพราะในขณะที่อีกคนหนึ่งหลบหลีกนั้นอีกคนหนึ่งก็จะทำการยิงได้ยาก ซึ่งลดความแม่นยำและประสิทธิภาพของพลปืนไป ทางลือกนี้ถูกใช้ในแบบป้องกันสำหรับเครื่องบินสอดแนมสองที่นั่งตั้งแต่ปีพ.ศ. 2458 เป็นต้นมา อีกทางเลือกหนึ่งก็คือการติดตั้งปืนบนปีกด้านบนเพื่อยิงให้เหนือใบพัด ในขณะที่มีความมีประสิทธิภาพมากขึ้นในการรบแบบรุกต้องมาจากนักบินสามารถขยับและเล็งปืนได้ การวางปืนแบบนี้จึงทำให้นักบินเล็งเป้าได้ยาก นอกจากนั้นตำแหน่งของปืนดังกล่าวทำให้มันแทยเป็นไปไม่ได้ที่นักบินจะหาตำแหน่งยิง มันทำให้ปืนกลนั้นแทบไม่มีประโยชน์แต่ก็เพราะว่านี่คือทางเลือกเพื่อทดแทนเท่านั้น ถึงอย่างไรก็ตามการยิงปืนกลเหนือวงโค้งของใบพัดก็มีข้อดี และยังคงอยู่ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2458 จนถึงพ.ศ. 2461 ความต้องการที่จะติดอาวุธให้กับเครื่องบินติดตามที่ยิงไปทางด้านหน้าโดยที่กระสุนจะผ่านใบพัดเกิดขึ้นอย่างชัดเจนก่อนสงครามจะเริ่มขึ้น และนักประดิษฐ์ทั้งฝรั่งเศสและเยอรมนีก็เริ่มสร้างระบบกลไกที่จะยิงกระสุนออกไปในเวลาเดียวกันกับที่เกิดช่องว่างในการหมุนของใบพัด ฟรานซ์ ชไนเดอร์วิศวกรชาวสวิตเซอร์แลนด์ได้จดสิทธิบัตรอุปกรณ์ดังกล่าวในเยอรมนีเมื่อปีพ.ศ. 2456 แต่งานต้นแบบของเขาก็ไม่ได้ปรากฏตัวออกมา นักออกแบบเครื่องบินชาวฝรั่งเศสชื่อเคย์มง ซูลเนียได้จดสิทธิบัตรในเดือนเมษายนพ.ศ. 2457 แต่การทดสอบก็ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะความโน้มเอียงของปืนกลทำให้ความแม่นยำนั้นไม่น่าเชื่อถือ ในเดือนธันวาคมพ.ศ. 2457 นักบินขาวฝรั่งเศสชื่อโคลอง การ์คอสได้ขอให้ซูลเนียติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวในเครื่องโมคอง-ซูลเนียของการ์คอส โชคร้ายที่ปืนกลฮอทช์คิสที่ใช้ระบบแก๊สนั้นยังเป็นวงกลมซึ่งทำให้กระสุนออกจากปืนช้าเกินไปจนขัดต่ออุปกรณ์ของซูลเนีย เพราะว่าสิ่งนี้เองใบพัดจึงต้องติดเกราะป้องกัน และช่างเทคนิคของการ์คอสชื่อจูลส์ ฮิวก็ติดเหล็กเข้าไปที่ใบพัดเพื่อป้องกันนักบินจากสิ่งที่อาจสะท้อนกลับเข้ามา เครื่องบินปกชั้นเดียวที่ถูกดัดแปลงของการ์คอสได้บินครั้งแรกในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2458 และเขาได้เริ่มทำการต่อสู้ไม่นานหลังจากนั้น ด้วยการใช้กระสุนทองแดงขนาด 8 ม.ม.การ์คอสก็ทำแต้มด้วยชัยชนะสามครั้งในสามสัปดาห์แรกก่อนที่เขาเองจะถูกยิงตกในวันที่ 18 เมษายนพร้อมกับเครื่องบินของเขา ทำให้สิ่งประดิษฐ์ทั้งหมดถูกยึดโดยเยอรมนี อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ดังกล่าวที่คิดขึ้นใหม่โดยวิศวกรรมของแอนโธนี่ ฟอกเกอร์เป็นอุปกรณ์แรกที่ติดตั้งเข้ากับเครื่องบินอย่างเป็นทางการ และสิ่งนี้ทำให้เกิดการสร้างเครื่องบินปีกชั้นเดียวแบบฟอกเกอร์ ไอน์เดกเกอร์ที่สร้างความหวาดกลัวเหนือแนวหน้าทางด้านตะวันตก ถึงแม้ว่ามันเป็นการนำอุปกรณ์จากเครื่องบินแข่งขันก่อนสงครามของฝรั่งเศสมาใช้ก็ตาม ชัยชนะครั้งแรกของไอน์เดกเกอร์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ร้อยโทเคิร์ท วินท์เจนส์ปืนเครื่องบินของเขาในแนวหน้าฝั่งตะวันตก เพื่อขับไล่เครื่องโมคอง-ซูลเนียแบบสองที่นั่งของลูเนฝีล เครื่องบินของวินท์เจนส์เป็นหนึ่งในเครื่องฟอกเกอร์ เอ็ม.5เค/เอ็มจีทั้งห้าลำที่เป็นต้นแบบตัวอย่างของไอน์เดกเกอร์ มันมีอาวุธเป็นระบบกลไลการยิงที่ตรงจังหวะกับใบพัด ปืนกลพาราเบลลัม เอ็มจี14 แบบระบายความร้อนด้วยอากาศ บางมุมก็มองว่านี่คือชัยชนะครั้งแรกอย่างแท้จริงในประวัติศาสตร์การบินของเครื่องบินขับไล่ ความสำเร็จของไอน์เดกเกอร์ทำให้คู่แข่งคนอื่นๆ ในสนามรบต้องพ่ายแพ้ จึงเกิดการสร้างเครื่องบินขับไล่ที่นั่งเดียวแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน เครื่องอัลบาทรอส ดี.ไอที่ถูกออกแบบโดยโรเบิร์ต ธีเลนเมื่อปลายปีพ.ศ. 2459 ได้ตั้งรูปแบบคลาสสิกที่เป็นต้นแบบให้กับเครื่องบินทั้งหลายต่อไปอีก 20 ปี เหมือนกับดี.ไอคือพวกมันเป็นเครื่องบินปีกสองชั้น โครงสร้างทรงกล่องที่แข็งแรงของปีกทำให้ปีกที่แข็งแรงมีความแม่นยำในการควบคุมมากขึ้นซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญของเครื่องบินขับไล่ พวกมันมีที่นั่งเดียวซึ่งนักบินจะบังคับเครื่องบินและยังสามารถใช้อาวุธได้อีกด้วย พวกมันติดอาวุธเป็นปืนกลแม็กซิมสองกระบอก ซึ่งได้พิสูจน์ว่ามันเข้ากับระบบยิงเป็นจังหวะกับใบพัดได้ดีกว่าแบบอื่น ท้ายปืนจะอยู่ตรงทางขวาด้านหน้าของนักบิน สิ่งนี้มีความหมายโดยนัยถึงในกรณีอุบัติเหตุ หากเกิดการขัดข้องก็สามารถทำการแก้ไขได้และทำให้การเล็งง่ายยิ่งขึ้น การใช้เหล็กกับเครื่องบินขับไล่นั้นริเริ่มโดยเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 แอนโธนี่ ฟอกเกอร์ได้ใช้เหล็กที่คล้ายกับสแตนเลสทำโครงสร้างของเครื่องบิน และวิศวกรชาวเยอรมนีชื่อฮิวโก้ จังเกอร์สได้สร้างเครื่องบินปีกชั้นเดียวแบบหนึ่งที่นั่งที่ทำจากเหล็กทั้งลำขึ้นมา เมื่อประสบการณ์ในการต่อสู้มากขึ้น นักบินที่ประสบความสำเร็จอย่าง ออสวอลด์ โบลค์ แม็กซ์ อิมเมบมานน์ และเอ็ดเวิร์ด แมนน็อค ได้พัฒนายุทธวิธีและกระบวนท่าเพื่อเพิ่มความสามารถในฝูงบินของพวกเขา ซึ่งทำให้พวกเขารอดชีวิตได้นานและทำให้นักบินหน้าใหม่เข้าร่วมในแนวหน้าได้ นักบินของสัมพันธมิตรและเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งไม่ได้สวมร่มชูชีพ ดังนั้นส่วนใหญ่แล้วพวกเขาจึงไม่รอดชีวิตเมื่อเครื่องบินได้รับความเสียหายอย่างหนัก ร่มชูชีพถูกสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2461 และถูกใช้โดยเยอรมนีในช่วงปีนั้น แต่ทางสัมพันธมิตรก็ยังคงไม่ใช่ร่มชูชีพด้วยเหตุผลหลายประการ การพัฒนาเครื่องบินขับไล่เป็นไปอย่างช้าๆ ระหว่างสงคราม การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดขึ้นในช่วงหลังของสงคราม เมื่อเครื่องจักรแบบคลาสสิกของสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มทำให้เกิดเครื่องบินปีกชั้นเดียวที่ทำจากเหล็กด้วยโครงสร้างของปีกที่แข็งแรง ด้วยการที่ทุนนั้นมีอย่างจำกัดทางกองทัพอากาศจึงมีแนวโน้มที่จะระมัดระวังในเรื่องการซื้อเครื่องบิน และเครื่องบินปีกสองชั้นยังคงได้รับความนิยมอยู่ในหมู่นักบินเพราะมันรวดเร็ว การออกแบบอย่างกลอสเตอร์กลาดิเอเตอร์ เฟียท ซีอาร์.42 และโพลิคาร์โปฟ ไอ-15 เป็นที่รู้จักกันดีในปีพ.ศ. 2473 และมีพวกมันจำนวนมากที่ยังคงเข้าประจำการอยู่จนถึงปลายปีพ.ศ. 2485 ในกระทั่งปีพ.ศ. 2473 เครื่องบินขับไล่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นแบบปีกสองชั้นที่หุ้มด้วยผ้า ในที่สุดอาวุธของเครื่องบินก็เริ่มถูกนำมาติดที่ด้านในปีก นอกรัศมีของใบพัด ถึงแม้ว่าการออกแบบส่วนใหญ่จะยังใช้ปืนกลสองกระบอกโดยติดตั้งไว้เหนือเครื่องยนต์ (ซึ่งถูกมองว่าแม่นยำกว่า) ปืนกลอากาศขนาดที่เป็นที่นิยมคือขนาด 12.7 ม.ม.และปืนใหญ่ขนาด 20 ม.ม.ซึ่งถูกมองว่าใหญ่เกินไป ด้วยการที่เครื่องบินมากมายมีการออกแบบที่คล้ายคลึงกับสงครามโลกครั้งที่หนึ่งแต่ก็มองกันว่าการใช้อาวุธจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเพื่อจัดการมันนั้นก็ไร้เหตุผล ด้วยความคิดเช่นนี้ทำให้ช่วงแรกนั้นการรบทางอากาศเป็นสิ่งที่ไร้ประสิทธิภาพ เครื่องยนต์โรเตอรี่ที่เคยเป็นที่นิยมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้หายไปอย่างรวดเร็วและถูกแทนที่โดยเครื่องยนต์แบบใหม่ เครื่องยนต์ของเครื่องบินได้เพิ่มพลังมากกว่ายุคก่อนๆ ความขัดแย้งระหว่างเครื่องยนต์ทั้ง 2 แบบยังคงมีด้วยการที่ทางกองทัพเรือต้องการเครื่องยนต์แบบใหม่ แต่กำลังทางบกต้องการเครื่องยนต์แบบเก่า แบบใหม่นั้นไม่ต้องมีระบบทำความเย็นที่แยกต่างหาก แต่มันก็สร้างแรงฉุด เครื่องยนต์แบบเก่าให้อัตราแรงผลักต่อน้ำหนักได้ดีกว่าแต่มันไม่ทนทาน บางกองทัพอากาศได้ทำการทดลองเกี่ยวกับเครื่องบินขับไล่ขนาดหนัก (ถูกเรียกว่า"เครื่องบินพิฆาต"โดยเยอรมนี) เครื่องบินเหล่านี้จะมีขนาดใหญ่ มักมีเครื่องยนต์สองเครื่อง บ้างก็ใช้เพื่อทำหน้าที่เครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดเบาหรือกลาง การออกแบบดังกล่าวปกติแล้วจะช่วยเพิ่มความจุของเชื้อเพลิงภายใน (เป็นการเพิ่มระยะทำการ) และติดอาวุธขนาดหนัก จากการต่อสู้พบว่าพวกมันอุ้ยอ้ายและเป็นเป้าของเครื่องบินขับไล่ที่มีขนาดเล็กกว่า นวัตกรรมใหม่ของเครื่องยนต์เกิดขึ้นในยุคที่อาวุธใหม่เข้ามา มันไม่ได้เกิดจากทุนของรัฐแต่มากจากการแข่งขันเครื่องบินของพลเรือน เครื่องบินที่ถูกออกแบบมาสำหรับการแข่งขันมีเครื่องยนต์อันทรงพลังที่จะทำให้พวกมันอยู่จนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามสงครามกลางเมืองสเปน นี่เป็นโอกาสให้กับกองทัพอากาศเยอรมัน อิตาลี และสหภาพโซเวียตทำการทดสอบการออกแบบเครื่องบินล่าสุดของพวกเขา แต่ละประเทศได้ส่งเครื่องบินมากมายเข้ารบ ในการต่อสู้เหนือสเปน เครื่องบินขับไล่เมสเซอร์สมิตแบบล่าสุดทำการได้ยอดเยี่ยมเช่นเดียวกับโพลิคาร์โพฟ ไอ-16ของโซเวียต เยอรมนีได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ ในสงครามสเปนและนำมันไปสร้างเครื่องบินที่ดียิ่งกว่าในสงครามโลกครั้งที่สอง ทางรัสเซียที่พ่ายแพ้ในสงครามยังคงมองว่าเครื่องบินของพวกเขานั้นเพียงพอต่อความต้องการแล้ว ต่อมาไอ-16 ได้ถูกสังหารไปเป็นจำนวนมากโดยเครื่องบินของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่สอง ถึงแม้ว่าพวกมันยังคงเป็นเครื่องบินขับไล่ในแนวหน้าของโซเวียตจนถึงปีพ.ศ. 2485 อิตาลีนั้นพอใจกับเครื่องบินปีกสองชั้นแบบเฟียท ซีอาร์.42 และด้วยขาดงบประมาณพวกเขาจึงยังคงใช้มันต่อไปถึงแม้ว่ามันจะล้าสมัยแล้วก็ตาม สงครามกลางเมืองสเปนยังได้สร้างโอกาสให้กับยุทธวิธีใหม่ๆ หนึ่งในนั้นได้ส่งผลให้เกิดการจัดฝูงแบบสี่ลำหรือฟิงเกอร์-โฟร์ (finger-four) ขึ้นมาโดยเยอรมนี แต่ละกองบินจะถูกแบ่งเป็นเป็นหลายฝูงบินที่มีฝูงละสี่ลำ แต่ละฝูงบินจะถูกแบ่งเป็นสองคู่ แต่ละคู่จะประกอบด้วยหัวหน้าฝูงและปีกข้าง รูปขบวนที่ยืดหยุ่นนี้ทำให้นักบินมีความระมัดระวังตัวสูง และทั้งสองคู่จะสามารถแยกออกและทำการโจมตีเมื่อใดก็ได้ ฟิงเกอร์-โฟร์ได้ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางในพิธีต่างๆ หลังสงครามโลกครั้งที่สอง การต่อสู้ทางอากาศเป็นสิ่งสำคัญในสงครามโลกครั้งที่สอง ความสามารถของเครื่องบินในการชี้ตำแหน่ง, ก่อกวน และเข้าสกัดกองกำลังภาคพื้นดินเป็นปัจจัยสำคัญในกองทหารของเยอรมนี และความสามารถของพวกมันในการครองอากาศเหนือฝ่ายอังกฤษทำให้การรุกรานเยอรมนีเป็นไปไม่ได้ จอมพลของเยอรมนีชื่อเออร์วิน รอมเมลได้กล่าวถึงกำลังทางอากาศเอาไว้ว่า "ใครก็ตามที่ต้องต่อสู้แม้มีอาวุธที่ล้ำสมัย กับศัตรูที่ครองอากาศ จะสู้อย่างดุเดือดต่อทหารของยุโรป ภายใต้อุปสรรคเดียวกันและโอกาสเดียวกันในความสำเร็จ" ในปีพ.ศ. 2473 สองความคิดที่แตกต่างในการรบทางอากาศเริ่มเกิดขึ้น ส่งผลให้เกิดการพัฒนาเครื่องบินปีกชั้นเดียวที่แตกต่างกัน ในญี่ปุ่นและอิตาลียังคงมีความเชื่อว่าเครื่องบินขับไล่ที่มีอาวุธขนาดเบาและความว่องไวสูงจะเป็นบทบาทหลักในการต่อสู้ทางอากาศ เครื่องบินอย่างนากาจิมา เคไอ-27 นากาจิมา เคไอ-43 และมิตซูบิชิ เอ6เอ็ม ซีโร่ในญี่ปุ่น และเฟียท จี.50และแมกชิ ซี.200ในอิตาลีเป็นตัวอย่างชัดเจนในแนวคิดนี้ อีกความคิดหนึ่งซึ่งมีในอังกฤษ เยอรมนี สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาเป็นหลักคือความเชื่อว่าความเร็วสูงและแรงจีหมายถึงการรบทางอากาศที่เป็นไปแทบไม่ได้เลย เครื่องบินขับไล่อย่างเมสเซอร์สมิต บีเอฟ 109 ซูเปอร์มารีน สปิตไฟร์ ยาคอฟเลฟ ยัก-1 และเคอร์ติส พี-40 วอร์ฮอว์คทั้งหมดล้วนถูกออกแบบให้มีความเร็วสูงและอัตราการไต่ระดับที่ดี ความคล่องตัวนั้นก็เป็นสิ่งที่พวกเขาต้องการ แต่มันไม่ใช่เป้าหมายหลัก ในยุทธการคัลคีนกอลและการรุกรานโปแลนด์ในปีพ.ศ. 2482 สั้นเกินไปที่พวกเขาจะทดสอบเครื่องบินขับไล่ของพวกเขา ในสงครามฤดูหนาวกองทัพอากาศฟินแลนด์ที่มีจำนวนมากกว่าได้ใช้รูปแบบฟิงเกอร์-โฟร์ของเยอรมนีเอาชนะกองทัพอากาศของรัสเซียที่มียุทธวิธีที่ด้อยกว่า ในยุทธการที่ฝรั่งเศสได้สร้างโอกาสให้กับเยอรมันได้พิสูจน์ประสบการณ์ที่พวกเขาได้รับมาจากสงครามกลางเมืองสเปน กองทัพอากาศเยอรมันพร้อมด้วยนักบินที่มากประสบการณ์และเครื่องบินขับไล่เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 109 ที่ยังคงใช้ฝูงบินแบบฟิงเกอร์-โฟร์ ได้พิสูจน์ความเหนือชั้นกว่าฝูงบินสามลำที่บินเป็นตัว V ของฝรั่งเศสและอังกฤษ ยุทธการที่อังกฤษเป็นปฏิบัติการทางทหารครั้งใหญ่ครั้งแรกที่ต่อสู้เพียงทางอากาศเท่านั้น และมันให้กับบทเรียนอย่างมากกับทั้งสองฝ่าย สิ่งสำคัญที่สุดคือเรดาร์สำหรับตรวจจับเครื่องบินของศัตรู ซึ่งทำให้เครื่องบินขับไล่เข้าสกัดได้อย่างแม่นยำจากระยะไกล มันเป็นยุทธวิธีแบบป้องกันที่ทำให้กองทัพอากาศอังกฤษใช้เครื่องบินขับไล่ที่มีอยู่น้อยให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ในตอนนั้นกองทัพอากาศอังกฤษมีอัตราการสกัดกั้นได้มากกว่า 80% ยุทธการอังกฤษยังได้เผยให้เห็นความไม่เพียงพอของเครื่องบินขับไล่ทางยุทธวิธีเมื่อต้องใช้ในการโจมตีระยะไกล แนวคิดเครื่องบินขับไล่ขนาดหนักแบบสองเครื่องยนต์ถูกมองว่าเป็นความล้มเหลวเมื่อเครื่องเมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110กองทัพอากาศเยอรมันนั้นขาดความคล่องแคล่วและตกเป็นเป้าได้ง่ายต่อเครื่องเฮอร์ริเคนและสปิตไฟร์ บีเอฟ 110 จึงถูกลดขั้นมาเป็นเครื่องบินขับไล่กลางคืนและเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดซึ่งพบว่ามันเหมาะมากกว่า นอกจากนั้นบีเอฟ 109 ของกองทัพอากาศเยอรมันปฏิบัติการในแบบที่สุดระยะของมันและไม่สามารถทำการรบได้นานนัก เมื่อเครื่องบินทิ้งระเบิดขาดการบินคุ้มกัน เยอรมนีก็สูญเสียเครื่องบินมากขึ้น อย่างไรก็ตามฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ได้เรียนรู้ถึงสิ่งนี้จนกระทั่งพวกเขาสูญเสียเครื่องบินทิ้งระเบิดอย่างมากขณะทำภารกิจตอนกลางวัน ถึงแม้ว่าการยืนยันช่วงแรกเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดทางยุทธวิธีที่ทิ้งระเบิดแม่นยำ แม้กระทั่งบี-17 ฟลายอิงฟอร์เทรสและบี-24 ลิเบอร์เรเตอร์ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ก็สูญเสียอย่างหนักให้กับเครื่องบินขับไล่และปืนใหญ่ต่อต้านอากาศยานของเยอรมัน หลังจากการบุกสเวนเฟิร์ทครั้งที่สองกองกำลังทางอากาศของสหรัฐฯ ก็ถูกบังคับให้ต้องสูญเสียเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ไร้การคุ้มกันจนกระทั่งมีเครื่องบินคุ้มกันพิสัยไกล ได้แก่ พี-38 ไลท์นิ่ง พี-47 ธันเดอร์โบลท์ และพี-51 มัสแตง การใช้ถังแบบปลดเริ่มเป็นที่นิยมซึ่งทำให้เครื่องบินมีเชื้อเพลิงมากพอที่จะทำการในระยะไกล เชื้อเพลิงเพิ่มเตมถูกจนในถังอะลูมิเนียมใต้เครื่องบิน และถังจะถูกปลดออกเมื่อหมดเชื้อเพลิง วัตกรรมใหม่ทำให้เครื่องบินขับไล่ของอเมริกาบินถึงเยอรมนีและญี่ปุ่นได้ในปีพ.ศ. 2487 เมื่อสงครามดำเนินไปเครื่องบินขับไล่พร้อมนักบินที่มีประสบการณ์ก็มากขึ้นเหนือเยอรมนี ถึงแม้ว่าจะมีการนำเสนอเทคโนโลยีเจ็ทและจรวดของกองทัพอากาศเยอรมันก็ตาม การสูญเสียนักบินที่มีประสบการณ์จำนวนมากของเยอรมันก็ทำให้ต้องฝึกนักบินใหม่อย่างเร่งรีบ เพื่อทดแทนนักบินที่เสียไป ในขณะที่นักบินหน้าใหม่ของสัมพันธมิตรในยุโรปได้รับการฝึกมาอย่างดี นักบินของกองทัพอากาศเยอรมันนั้นไม่ได้รับการฝึกที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในฤดูร้อนปีพ.ศ. 2487 เมื่อเครื่องบินขับไล่ฝ่ายสัมพันธิมตรมักบินอยู่บริเวณที่ฝึกของนักบินเยอรมัน การฝึกบินในกองทัพอากาศเยอรมันต้องหยุดชะงักเพราะการขาดเชื้อเพลิงในเดือนเมษายนพ.ศ. 2487 สมรภูมิในแปซิฟิกฝ่ายญี่ปุ่นที่มีประสบการณ์ใช้มิตซูบิชิ เอ6เอ็ม ซีโร่รุ่นล่าสุดของพวกเขาเพื่อครอบครองท้องฟ้า ในขณะที่กองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรมักใช้เครื่องบินที่ล้าสมัยเพราะคิดว่าญี่ปุ่นนั้นไม่อันตรายเท่าเยอรมนี นั่นทำให้พวกเขาถูกบังคับให้ต้องล่าถอยจนกระทั่งฝ่ายญี่ปุ่นเริ่มเหนื่อยล้า ขณะที่ญี่ปุ่นเข้าร่วมสงครามพร้อมนักบินที่ฝึกมาอย่างดี พวกเขาก็ไม่เคยทดแทนนักบินที่เสียไปได้โดยที่มีคุณภาพเท่าเดิม แตกต่างจากโรงเรียนของสหรัฐฯ ได้ฝึกนักบินออกมานับพันคนที่มีความสามารถเพียงพอ เครื่องบินขับไล่ของญี่ปุ่นนั้นมีความเร็วและพิสัยไกล และในตอนนั้นนักบินฝ่ายสัมพันธมิตรได้พัฒนายุทธวิธีเพื่อใช้อาวุธที่เหนือกว่าของพวกเขาและการป้องกันของเอฟ4เอฟ ไวลด์แคทและเคอร์ติส พี-40 ตั้งแต่กลางปีพ.ศ. 2485 เครื่องบินขับไล่รุ่นใหม่ของสัมพันธมิตรรวดเร็วกว่าและมีอาวุธที่ดีกว่าของญี่ปุ่น และยุทธวิธีใหม่ๆ ช่วยให้พวกเขาจัดการกับเครื่องซีโร่และนากาจิมา เคไอ-43ที่เร็วกว่าได้ อุตสาหกรรมของญี่ปุ่นไม่สามารถสร้างการผลิตได้มากเท่ากับของฝั่งตะวันตก และเครื่องบินขับไล่ของญี่ปุ่นก็ถูกกำจัดออกจากท้องฟ้ากลางปีพ.ศ. 2487 ความสำคัญในพลังของเครื่องยนต์ลูกสูบเพิ่มอย่างมากในช่วงสงคราม พี-36 ฮอว์คใช้เครื่องยนต์ที่ลูกสูบเรียงกันเป็นวงกลมที่มีกำลัง 900 แรงม้า แต่ไม่นานมันก็ถูกออกแบบใหม่ให้เป็นพี-40 วอร์ฮอว์คที่มีเครื่องยนต์ลูกสูบแถวเรียงที่ให้กำลัง 820 แรงม้า ในปี พ.ศ. 2486 พี-40 เอ็น รุ่นล่าสุดมีเครื่องยนต์อัลลิสันที่ให้กำลัง 1,300 แรงม้า เมื่อสิ้นสุดสงครามเครื่องฟอก-วัลฟ์ ทีเอ 152 ของเยอรมันสามารถให้กำลังได้ 2,050 แรงม้าและพี-51 มัสแตงมีเครื่องแพ็คคาร์ด วี-1650-9 ที่ให้กำลัง 2,218 แรงม้า เครื่องซูเปอร์มารีน สปิตไฟร์ มาร์ค 1 ในปีพ.ศ. 2482 มีเครื่องยนต์เมอร์ลิน 2 ของโรส์รอยซ์ที่ให้กำลัง 1,030 แรงม้า รุ่นต่อมาของมันคือสปืตไฟร์ เอฟ.มาร์ค 21 มีเครื่องยนต์กริฟฟอร 61 ของโรส์รอยซ์ที่ให้กำลัง 2,035 แรงม้า นอกจากนี้เครื่องยนต์ลูกสูบวงกลมเป็นที่ชื่นชอบในเครื่องบินขับไล่จำนวนมากซึ่งให้กำลังตั้งแต่ 1,100 แรงม้าจนถึง 2,090 แรงม้า เครื่องบินขับไล่พลังเจ็ทลำแรกถูกนำมาใช้ในปี พ.ศ. 2487 และเห็นได้ชัดว่ามันดีกว่าเครื่องยนต์ลูกสูบ การออกแบบใหม่อย่างเมสเซอร์สมิต เอ็มอี 262และกลอสเตอร์ เมเทโอได้แสดงให้เห็นถึงความมีประสิทธิภาพของระบบขับเคลื่อน (เครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์เจ็ทที่มีชื่อเสียงอย่างเมสเซอร์สมิต เอ็มอี 163 เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันแต่ก็มีประสิทธิภาพที่น้อยกว่า) เครื่องบินขับไล่เหล่านี้จำนวนมากสามารถทำความเร็วได้มากกว่า 660 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และเร็วพอที่จะเทียบกับความเร็วเสียง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเครื่องบินดำดิ่งลงมา เบรกอากาศ (อังกฤษ: Dive brake) ถูกเพิ่มให้กับเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์เจ็ทหลังสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อลดปัญหาและทำให้นักบินควบคุมเครื่องได้ อาวุธที่ทรงพลังมากขึ้นกลายมาเป็นสิ่งสำคัญในสงคราม เมื่อมันเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องบินปีกชั้นเดียวที่ไม่ได้ถูกยิงตกง่ายๆ ด้วยปืนกล ประสบการณ์ของเยอรมันในสงครามกลางเมืองสเปนทำให้พวกเขาติดตั้งปืนใหญ่ขนาด 20 ม.ม.เข้าไปในเครื่องบินขับไล่ของพวกเขา ไม่นานทางฝ่ายอังกฤษก็ทำตามด้วยการใส่ปืนใหญ่เข้าไปในปีกของเฮอร์ริเคนและสฟิตไฟร์ ทางอเมริกานั้นขาดแคลนอาวุธของพวกเขาเองพวกเขาจึงแทนที่ด้วยการใส่ปืนกลขนาด 12.7 ม.ม.หลายประบอกเข้าไปแทน อาวุธยังคงเพิ่มขึ้นตลอดสงครามด้วยเครื่องเอ็มอี 262 ของเยอรมันที่มีปืนใหญ่สี่กระบอกที่ปลายจมูก ปืนใหญ่นั้นยิงกระสุนระเบิดและสามารถสร้างรูบนเครื่องบินของศัตรูได้มากกว่าแค่สร้างความเสียหายเล็กๆ น้อยๆ มีการถกเถียงกันระหว่างปืนกลที่มีอัตราการยิงสูงกับปืนใหญ่ที่มีอัตราการยิงต่ำแต่ให้การทำลายที่มากกว่า ด้วยความต้องการการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิดที่เพิ่มขึ้นในสมรภูมิรบ เครื่องบินขับไล่จึงมีระเบิดและถูกใช้เป็นเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด การออกแบบเครื่องบินบางแบบอย่างเอฟดับบลิว 190 ของเยอรมันนั้นเหมาะกับบทบาทนี้ ถึงแม้ว่านักออกแบบได้ออกแบบให้มันเป็นเครื่องบินสกัดกั้นก็ตาม ในขณะที่บรรทุกระเบิดอากาศสู่พื้นไว้ที่ใต้ปีก ความคล่องตัวของมันก็ถูกลดลงเนื่องมาจากแรงยกที่น้อยลงและแรงฉุดที่เพิ่มขึ้น แต่เมื่อระเบิดถูกทิ้งเครื่องบินก็จะสามารถเป็นเครื่องบินขับไล่ได้อีกครั้ง ด้วยธรรมชาติที่ยืดหยุ่นของเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดมันจึงได้ทำงานที่พิเศษทั้งทางอากาศและพื้นดิน เทคโนโลยีด้านเรดาร์ที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วซึ่งได้พัฒนาขึ้นไม่นานก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง มันเหมาะกับเครื่องบินขับไล่บางชนิดอย่าง เมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110 บริสตอล บิวไฟเตอร์ เอฟ6เอฟ เฮลแคท และพี-61 แบล็ควิโดว์เพื่อให้พวกมันหาเป้าหมายได้ในตอนกลางคืน เยอรมันได้พัฒนาเครื่องบินทิ้งระเบิดกลางคืนมากมายเมื่อพวกเขาถูกระดมทิ้งระเบิดจากองทัพอากาศของอังกฤษ ทางอังกฤษที่เป็นผู้สร้างเรดาร์ขึ้นมาเป็นคนแรกให้กับเครื่องบินทิ้งระเบิดในปี พ.ศ. 2483-2484 สูญเสียเทคโนโลยีของพวกเขาให้กับกองทัพอากาศเยอรมัน เนื่องมาจากเรดาร์ใช้อย่างในตอนนั้นมันจึงถูกติดตั้งกับเครื่องบินที่มี 2-3 ที่นั่งเพื่อให้มีผู้ใช้เรดาร์ที่ฝึกมาโดยเฉพาะ โครงการเครื่องบินขับไล่มากมายที่เริ่มขึ้นต้นปีพ.ศ. 2488 ดำเนินต่อหลังสงครามและนำไปสู่เครื่องยนต์ลูกสูบที่ก้าวหน้าซึ่งเข้าสู่การผลิตและประจำการในปีพ.ศ. 2489 ตัวอย่างเช่นลาวอคชคิน ลา-9 (อังกฤษ: Lavochkin La-9) ซึ่งเป็นการวิวัฒนาการจากลาวอคชคิน ลา-7 ที่ประสบความสำเร็จในสงคราม ลา-120 ลา-126 และลา-130 ได้มีการหาวิธีแทนที่โครงสร้างที่เป็นไม้ของลา-7 ด้วยเหล็กแทน เช่นเดียวกับปีกแบบใหม่ที่เพิ่มความคล่องตัวและการเพิ่มอาวุธ ลา-9 เข้าประจำการในปีพ.ศ. 2489 และผลิตจนถึงปีพ.ศ. 2491 มันยังเป็นต้นแบบของการพัฒนาเครื่องบินคุ้มกันอย่างลาวอคชคิน แอลเอ-11 ซึ่งผลิตออกมาเกือบ 1,200 ลำฝนปีพ.ศ. 2490-2494 ในสงครามเกาหลีมันเป็นที่เห็นได้ชัดว่าเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ลูกสูบนั้นกำลังมาถึงจุดจบและอนาคตเป็นของเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่น ช่วงนี้ยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงการทดลองเครื่องยนต์เจ็ทผสมลูกสูบ ลา-9 ได้ดัดแปลงด้วยเครื่องยนต์เจ็ทสำรองสองเครื่องที่ใต้ปีกแต่มันก็ไม่เคยถูกนำมาใช้ มีเพียงรุ่นเดียวที่นำมาใช้ก็คือไรอัน เอฟอาร์-1 ไฟร์บอลล์ที่ใช้โดยกองทัพเรือสหรัฐฯ ในปีพ.ศ. 2488 การผลิตถูกหยุดเมื่อสงครามสิ้นสุดในวันที่สหรัฐฯ มีชัยเหนือญี่ปุ่น มีเพียง 66 ลำที่ผลิตออกมาและถูกเก็บคืนในปีพ.ศ. 2490 กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้สั่งซื้อแบบผสมเครื่องยนต์ไอพ่นกับเครื่องยนต์ใบพัดจำนวน 13 ลำก่อนการผลิต มันมีชื่อว่าคอนโซลิเดท วัลที เอ็กซ์พี-81 (อังกฤษ: Consolidated Vultee XP-81) แต่โครงการนี้ถูกยกเลิกเมื่อชนะญี่ปุ่นพร้อมงานที่เสร็จไปแล้ว 80% เครื่องบินลังจรวดลำแรกคือลิฟพิสช์ อองเตอ (เยอรมัน: Lippisch Ente) ซึ่งทำการบินครั้งแรกเมื่อเดือนมีนาคมพ.ศ. 2461 เครื่องบินที่เป็นจรวดจริงๆ ที่ผลิตออกมาจำนวนมากคือเมสเซอร์สมิต เอ็มอี 163 ในปีพ.ศ. 2487 มันเป็นหนึ่งในโครงการของเยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เล็งไปที่การพัฒนาเครื่องบินพลังจรวด แบบต่อมาของเอ็มอี 262 ถูกติดตั้งด้วยเครื่องยนต์จรวดในขณะที่รุ่นก่อนหน้านั้นเป็นเครื่องยนต์เสริม แต่ก็ไม่ได้ผลิตออกมามากนัก สหภาพโซเวียตได้ทดลองเครื่องบินสกัดกั้นพลังจรวดหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง มันคือมิโคยัน-กูเรวิชค์ ไอ-270 ซึ่งสร้างออกมาเพียงสองลำ ในปีพ.ศ. 2493 อังกฤษได้พัฒนาแบบผสมเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้ทั้งเครื่องยนต์จรวดและเครื่องยนต์ไอพ่น จรวดเป็นเครื่องยนต์หลักในการส่งความเร็วและความสูง และเครื่องยนต์ไอพ่นเพิ่มเชื้อเพลิงในการบิน ส่วนใหญ่แล้วเพื่อให้แน่ใจว่าเครื่องบินลงจอดได้โดยที่ไม่ต้องร่อนลง ซาวน์เดอร์ส-โร เอสอาร์.53 เป็นการออกแบบที่ประสบความสำเร็จและวางแผนที่จะทำการผลิตเมื่อเศรษฐกิจบังคับให้โครงการส่วนใหญ่สั้นลงในปีพ.ศ. 2493 นอกจากนี้แล้วการพัฒนาอย่างรวดเร็วของเครื่องยนต์ไอพ่นทำให้เครื่องยนต์ผสมล้าสมัย เอ็กซ์เอฟ-91 ธันเดอร์เซปเตอร์เผชิญกับชะตากรรมเดียวกันและไม่มีเครื่องบินแบบเครื่องยนต์ผสมถูกออกแบบมาทดแทน เครื่องบินขับไล่พลังไอพ่นยุคแรกเริ่มจากการออกแบบเครื่องบินไอพ่นที่ปรากฏตัวในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองและต้นช่วงหลังสงคราม พวกมันแตกต่างไม่มากจากเครื่องยนต์ลูกสูบในด้านรูปลักษณ์ และใช้กับเครื่องบินปีกนิ่ง ปืนยังคงเป็นอาวุธหลัก แรงผลักดันในการพัฒนาเครื่องยนต์ไอพ่นนั้นก็คือเพื่อให้ได้ความเร็วสูงสุด ความเร็วสูงสุดของเครื่องบินขับไล่มากขึ้นตลอดสงครามโลกครั้งที่สองเช่นเดียวกับเครื่องยนต์ลูกสูบที่พัฒนาไปด้วย และเริ่มเข้าสู่การบินเหนือเสียงที่ซึ่งเครื่องยนต์ลูกสูบไม่สามารถทำได้ เครื่องบินไอพ่นลำแรกถูกสร้างขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองและต่อสู้ในปีสุดท้าย เมสเซอร์สมิตได้พัฒนาเครื่องบินเจ็ทขับไล่ลำแรก คือเอ็มอี 262 มันรวดเร็วกว่าเครื่องบินลูกสูบลำใดๆ และเมื่ออยู่ในมือของนักบินที่มากประสบการณ์มันก็จะเป็นเรื่องยากที่นักบินฝ่ายสัมพันธมิตรจะเอาชนะมันได้ การออกแบบไม่เคยพัฒนามากพอที่จะหยุดการบุกของสัมพันธมิตร และเมื่อรวมกับเชื้อเพลิงที่ขาดแคลน การสูญเสียนักบิน และความยุ่งยากทางเทคนิคของเครื่องยนต์ทำให้การรบน้อยลง ถึงกระนั้นเอ็มอี 262 ได้ชี้ทางให้กับจุดจบของเครื่องบินแบบเครื่องยนต์ลูกสูบ ด้วยการที่ได้รับรายงานถึงเครื่องบินไอพ่นของเยอรมัน กลอสเตอร์ เมเทโอของอังกฤษก็เข้าสู่การผลิตไม่นานต่อจากนั้นและมีสองลำที่เข้าประจำการในปีพ.ศ. 2487 เมเทโอเป็นที่รู้จักในการใช้เข้าสกัดจรวดวี 1 เมื่อสงครามจบงานเกือบทั้งหมดของเครื่องยนต์ลูกสูบก็จบลงไปด้วย มีเพียงไม่กี่แบบที่เป็นการผสมของเครื่องยนต์ลูกสูบกับเครื่องยนต์ไอพ่น อย่างไรอัน เอฟอาร์ ไฟร์บอล มันถูกใช้เพียงสั้นๆ แต่เมื่อสิ้นสุดปีพ.ศ. 2457 เครื่องบินขับไล่ทั้งหมดก็ใช้เครื่องยนต์ไอพ่น ถึงแม้ว่าจะมีข้อได้เปรียบ เครื่องบินขับไล่ไอพ่นรุ่นแรกๆ นั้นก็ยังห่างไกลจากความสมบูรณ์แบบโดยเฉพาะในยุคแรก ช่วงการในงานของพวกมันสั้นมากจนนับเป็นชั่วโมงได้ เครื่องยนต์เองก็บอบบางและเทอะทะ ฝูงบินมากมายของเครื่องยนต์ลูกสูบถูกนำมาใช้จนถึงปีพ.ศ. 2493 วัตกรรมอย่างเก้าอี้ดีดตัวและส่วนหางถูกนำเสนอในช่วงนี้ อเมริกาเป็นหนึ่งในผู้แรกที่เริ่มใช้เครื่องบินขับไล่ไอพ่น พี-80 ชู้ทติ้งสตาร์ (ไม่นานถูกเปลี่ยนชื่อเป็นเอฟ-80) มีความสวยงามน้อยกว่าเอ็ม 262 แต่ก็มีความเร็วในการร่อน 660 กิโลเมตร/ชั่วโมง เท่ากับขีดสูงสุดของเครื่องบินเครื่องยนต์ลูกสูบ อังกฤษได้ออกแบบเครื่องบินไอพ่นมากมายที่รวมทั้งเดอ ฮาวิลแลนด์ แวมไพร์ (อังกฤษ: de Havilland Vampire) ซึ่งถูกขายให้กับกองทัพอากาศของหลายประเทศ น่าขันที่เทคโนโลยีของโรส์รอยซ์ได้เปลี่ยนมือจากอังกฤษมาเป็นของโซเวียต ผู้ซึ่งที่ต่อมาได้ใช้มันเพื่อพัฒนามิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-15 ที่ล้ำหน้าของพวกเขาซึ่งเป็นเครื่องบินปีกลู่หลังแบบแรกที่เข้ารบ มันเป็นวัตกรรมแรกที่นำเสนอโดยการวิจัยเยอรมันซึ่งทำให้การบินใกล้เคียงกับความเร็วเสียงได้มากกว่าปีกตรงของเอฟ-80 ความเร็วสูงสุดของพวกมันคือ 1,075 กิโลเมตร/ชั่วโมง สร้างความประหลาดใจให้กับนักบินเอฟ-80 ของอเมริกันในสงครามเกาหลีอย่างมาก พร้อมกับอาวุธเป็นปืนใหญ่ขนาด 23 ม.ม.สองกระบอกและ 37 ม.ม.หนึ่งกระบอกเทียบกับปืนกลของอเมริกัน ถึงกระนั้นในการต่อสู้ระหว่างเจ็ทกับเจ็ทครั้งแรกในประวัติศาสตร์นั้น ซึ่งเกิดขึ้นในสงครามเกาหลีในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 เอฟ-80 หนึ่งลำไดเข้าสกัดมิก-15 สองลำของเกาหลีเหนือและยิงพวกมันตก อเมริกาตอบโต้ด้วยการสร้างฝูงบินปีกลู่หลังของเอฟ-86 เข้าต่อกรกับมิก เครื่องบินสองลำมีความแข็งแกร่งที่แตกต่างกัน แต่ก็ดูเหมือนจะเป็นเทคโนโลยีที่เหนือชั้นอย่างเรดาร์และทักษะของทหารผ่านศึกของฝ่ายอเมริกันทำให้พวกเขาเหนือกว่า ทั้งโลกเปลี่ยนไปใช้เครื่องบินไอพ่นในช่วงนี้ กรัมแมนได้สร้างเอฟ9เอฟ แพนเธอร์ที่ใช้โดยกองทัพเรือสหรัฐฯ เป็นเครื่องบินหลักในสงครามเกาหลี และมันเป็นหนึ่งในเครื่องบินขับไล่ไอพ่นรุ่นแรกๆ ที่มีสันดาปท้าย เดอ ฮาวิลแลนด์ แวมไพร์เป็นเครื่องบินขับไล่ไอพ่นลำแรกของกองทัพเรืออังกฤษ เรดาร์ถูกใช้กับเครื่องบินกลางคืนอย่างเอฟ3ดี สกายไนท์ซึ่งได้ยิงมิกตกเหนือเกาหลี และต่อมาก็ติดตั้งให้กับเอฟ2เอช แบนชีและเครื่องบินปีกลู่หลังอย่างเอฟ7ยู คัทลาสและเอฟ3เอช ดีมอน ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศแบบอินฟราเรดรุ่นแรกๆ อย่างเอไอเอ็ม-9 ไซด์ไวน์เดอร์และขีปนาวุธนำวิถีด้วยเรดาร์อย่างเอไอเอ็ม-7 สแปร์โรว์ซึ่งได้พัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 20 ถูกนำมาใช้ครั้งแรกกับเครื่องบินปีกลู่หลังอย่างคัทลาสและดีมอน การพัฒนาเครื่องบินขับไล่ยุคที่สองมาจากการพัฒนาของเทคโนโลยี เป็นบทเรียนที่ได้รับมาจากสงครามเกาหลีและเน้นไปที่การปฏิบัติการในสภาพการของสงครามนิวเคลียร์ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านอากาศพลศาสตร์ การขับเคลื่อน และวัสดุก่อสร้างทำให้นักออกแบบทำการทดลองเครื่องบินใหม่ๆ อย่าง ปีกลู่หลัง ปีกทรงสามเหลี่ยม มีการใช้เครื่องยนต์พร้อมสันดาปท้ายอย่างกว้างขวางซึ่งทำให้พวกมันสามารถบินทะลุกำแพงเสียงได้ และความสามารถในการบินด้วยความเร็วเสียงก็กลายมาเป็นความสามารถโดยทั่วไปของเครื่องบินขับไล่ในรุ่นนี้ การออกแบบเครื่องบินขับไล่ยังได้ผลประโยชน์จากเทคโนโลยีทางไฟฟ้าแบบใหม่ซึ่งทำให้เกิดเรดาร์ที่มีประสิทธิภาพที่มีขนาดเล็กพอที่จะติดตั้งกับเครื่องบินขนาดเล็กได้ เรดาร์บนเครื่องบินจะตรวจจับเครื่องบินศัตรูที่อยู่นอกเหนือการมองเห็น ในทำนองเดียวกันก็มีขีปนาวุธนำวิถีซึ่งกลายมาเป็นอาวุธหลักในครั้งแรกของประวัติศาสตร์เครื่องบินขับไล่ ในช่วงเวลานี้เองขีปนาวุธนำวิถีด้วยอินฟราเรดได้เกิดขึ้น แต่ขีปนาวุธแบบนี้แรกๆ นั้นบอบบางและมีมุมมองที่ด้านหน้าเพียง 30° ซึ่งจำกัดประสิทธิภาพของพวกมัน ขีปนาวุธนำวิถีด้วยเรดาร์ถูกนำเสนอเช่นเดียวกันแต่ตอนแรกๆ นั้นไม่ค่อยเชื่อถือได้ ขีปนาวุธกึ่งเรดาร์ยังสามารถติดตามและเข้าสกัดเครื่องบินของศัตรูได้ด้วยตนเอง ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางและไกลทำให้มันสามารถยิงได้โดยที่เป้าหมายไม่อยู่ในระยะมองเห็น และทำให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีแบบนี้มากขึ้นไปอีก ด้วยการที่เห็นว่าประเทศโลกที่สามเริ่มมีกองทัพขนาดใหญ่และอาวุธนิวเคลียร์มันจึงนำไปสู่การออกแบบใหม่ขึ้นมาสองแบบ คือ เครื่องบินสกัดกั้นและเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด ทั้งสองแบบถูกลดบทบาทในการต่อสู้ทางอากาศ เครื่องบินขับไล่ความเร็วสูงหรือเครื่องบินสกัดกั้นนั้นมีขีปนาวุธที่เข้ามาแทนปืนและการต่อสู้ของมันจะทำจากระยะที่มองไม่เห็น ผลที่ได้คือเครื่องบินสกัดกั้นถูกออกแบบให้บรรทุกขีปนาวุธได้มากและมีเรดาร์ที่ทรงพลัง โดยลดความเร็วและอัตราการไต่ระดับลง ด้วยบทบาทในการป้องกันทางอากาศเป็นหลัก ความสำคัญจึงอยู่ที่ความสามารถในการเข้าสกัดกั้นเครื่องบินทิ้งระเบิดที่บินอยู่ในระดับสูง เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดสามารถสับเปลี่ยนบทบาทระหว่างครองน่านฟ้ากับโจมตีภาคพื้นดิน และมักออกแบบมาให้มีความเร็วสูง ความสามารถในการบินระดับต่ำเพื่อทิ้งระเบิด ขีปนาวุธนำวิถีด้วยเรดาร์และด้วยโทรทัศน์ถูกนำมาใช้เพื่อขยายการใช้ระเบิดแรงโน้มถ่วง และมีบางรุ่นที่สามารถใช้ระเบิดนิวเคลียร์ได้ ยุคที่สามนั้นคือการพัฒนาที่ยิ่งใหญ่ของเครื่องบินขับไล่ยุคที่สอง แต่ส่วนใหญ่แล้วเน้นไปที่ความคล่องตัวและการโจมตีภาคพื้นดิน ในปีพ.ศ. 2503 มีการใช้ขีปนาวุธนำวิถีมากขึ้นในการต่อสู้ทางอากาศ ระบบอิเลคทรอนิกอากาศเริ่มเป็นที่รู้จัก มันเข้ามาแทนที่มาตรวัดแบบเก่าในห้องนักบิน เทคโนโลยีมากมายพยายามลดระยะทางในการนำเครื่องขึ้นหรือนำเครื่องขึ้นลงในแนวดิ่ง แต่แรงขับแบบปกตินั้นประสบความสำเร็จกว่า ด้านการต่อสู้ทางอากาศนั้นมีการใช้ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศ ระบบเรดาร์ และระบบอิเลคทรอนิกอากาศที่พัฒนา ในขณะที่ปืนยังคงเป็นอุปกรณ์พื้นฐาน ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศกลายมาเป็นอาวุธหลักของเครื่องบินขับไล่ชั้นยอด ซึ่งใช้เรดาร์ที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้นเพื่อทำแต้มจากการยิงนอกระยะสายตาได้ง่าย อย่างไรก็ตามการทำลายเป้าหมายความเป็นไปได้น้อยมากสำหรับขีปนาวุธนำวิถีด้วยอินฟราเรดเพราะความเชื่อถือได้ที่น้อยและระบบต่อต้านอิเลคทรอนิกที่รบกวนระบบค้นหาของขีปนาวุธ ขีปนาวุธอินฟราเรดได้ขยายมุมมองที่ด้านหน้าเป็น 45° ซึ่งทำให้มันทรงพลังยิ่งขึ้น ถึงกระนั้นอัตราสังหารในการต่อสู้ทางอากาศที่ต่ำของอเมริกาในเวียดนามทำให้กองทัพเรือสหรัฐฯ ตั้งโรงเรียนฝึกท็อปกันที่มีชื่อเสียงเพื่อฝึกการใช้อาวุธ ซึ่งสร้างนักบินที่มีความสามารถสูงทั้งเทคนิคและยุทธวิธี ในยุคนี้ยังเห็นการขยายความสามารถในการโจมตีภาคพื้นดิน โดยเฉพาะในการใช้ขีปนาวุธนำวิถี และระบบอิเลคทรอนิกอากาศที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริงสำหรับการโจมตีที่ดีขึ้น รวมทั้งระบบหลบหลีกภูมิประเทศ ขีปนาวุธอากาศสู่พื้นที่มีตัวหาเป้าอย่างเอจีเอ็ม-65 มาเวอร์ริกได้กลายมาเป็นอาวุธหลัก และระเบิดนำวิถีด้วยเลเซอร์ได้กลายมาเป็นที่แพร่หลายด้วยความแม่นยำของมัน การนำวิถีของระเบิดแม่นยำนั้นใช้กระเปาะหาเป้าที่ติดอยู่ที่ส่วนปลาย ซึ่งถูกนำเสนอในกลางปีพ.ศ. 2503 มันยังได้นำมาซึ่งการพัฒนาอาวุธอัตโนมัติที่ใช้เครื่องยนต์ไฟฟ้าเพื่อขับเคลื่อนกลไกของปืนใหญ่ มันทำให้อาวุธหลายลำกล้อง (อย่างเอ็ม61 วัลแคนขนาด 20 ม.ม.) สามารถทำอัตราการยิงและความแม่นยำได้เยี่ยม ขุมกำลังที่เชื่อถือได้มากขึ้นและเครื่องยนต์ไอพ่นไร้ควันเพื่อให้มันยากที่จะมองเห็นโดยเครื่องบินลำอื่นจากระยะไกล เครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน (อย่างเอ-6 อินทรูเดอร์และเอ-7 คอร์แซร์ 2) มีพิสัยที่ไกลขึ้น ระบบโจมตีกลางคืนที่ซับซ้อนขึ้น หรือราคาถูกกว่าเครื่องบินขับไล่เหนือเสียงปีกปรับมุมได้แบบเอฟ-111 ได้ใช้เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนแพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ ทีเอฟ30 พร้อมสันดาปท้าย โครงการที่ทะเยอทะยานพยายามที่จะสร้างเครื่องบินขับไล่ทวิบทบาทหรือหลายภารกิจ มันจะทำงานได้ดีเท่ากับเครื่องบินทิ้งระเบิดทุกสภาพอากาศ แต่ก็ขาดความสามารถในการเอาชนะเครื่องบินขับไล่ลำอื่น เอฟ-4 แฟนทอมถูกออกแบบเกี่ยวกับเรดาร์ให้เป็นเครื่องบินสกัดกั้นทุกสภาพอากาศ แต่ถูกรวบเข้าเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดหลากประโยชน์ที่ว่องไวพอที่จะหลบหลีกจากการต่อสู้ มันถูกใช้โดยกองทัพเรือ กองทัพอากาศ และนาวิกโยธินสหรัฐฯ ถึงแม้ว่าจุดอ่อนมากมายซึ่งยังไม่ถูกแก้ไขจนกระทั่งเครื่องบินขับไล่ใหม่กว่า แฟนทอมก็ทำคะแนนได้ 280 แต้มในการสังหารทางอากาศ มากกว่าเครื่องบินขับไล่แบบไหนๆ ของอเมริกาในเวียดนาม ด้วยพิสัยและความจุได้เท่ากับเครื่องบินทิ้งระเบิดในสงครามโลกครั้งที่สองอย่างบี-24 ลิเบอร์เรเตอร์ แฟนทอมเป็นเครื่องบินที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก เครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ยังคงเป็นแบบหลายภารกิจและติดตั้งระบบอาวุธและอิเลคทรอนิกอากาศที่ซับซ้อน เครื่องบินขับไล่ได้รับอิทธิพลจากทฤษฎีพลังงาน-ความคล่องตัว (Energy-Maneuverability theory) ที่คิดโดยพันเอกจอห์น บอยด์และนักคณิตศาสตร์ชื่อโธมัส คริสตี้ โดยมีพื้นฐานมาจากประสบการณ์รบของบอยด์ในสงครามเกาหลีและในฐานะครูสอนยุทธวิธีเมื่อปีพ.ศ. 2503 ทฤษฎีดังกล่าวเน้นไปที่ค่าของพลังงานเฉพาะของเครื่องบินที่จะสร้างความได้เปรียบในการต่อสู้ เอกลักษณ์ตามทฤษฎีถูกใช้ในเอฟ-15 อีเกิล แต่บอยด์และผู้สนับสนุนเขาเชื่อว่าตัวแปรเหล่านี้มีน้อย มันเป็นเครื่องบินน้ำหนักเบาที่มีปีกขนาดใหญ่ที่ให้แรงยกมาก ขนาดที่เล็กจะลดแรงฉุดและเพิ่มสัดส่วนแรงผลักต่อน้ำหนัก ในขณะที่ปีกขนาดใหญ่จะเพิ่มการกระจายน้ำหนัก ในขณะที่การกระจายน้ำหนักเพิ่มขึ้นมีแนวโน้มที่จะลดความเร็วและพิสัย มันก็เพิ่มความจุและน้ำมันที่จะทำให้มันบินได้ไกลขึ้น ความพยายามของบอยด์ส่งผลในเอฟ-16 ไฟท์ติ้งฟอลคอน ความคล่องตัวของเอฟ-16 ได้พัฒนาขึ้นไปอีกด้วยการที่มันถูกออกแบบมาให้มีลดความไม่เสถียรของอากาศพลศาสตร์ เทคนิคดังกล่าวทำให้เกิดระบบควบคุมการบินขึ้นมา (flight control system) ซึ่งตามลำดับสามารถทำได้โดยการพัฒนาคอมพิวเตอร์และระบบร่วม ระบบอิเลคทรอนิกอากาศต้องใช้ระบควบคุมารบินแบบเอฟบีดับบลิว (fly-by-wire) กลายเป็นความต้องการสำคัญและเริ่มแทนที่โดยระบบควบคุมการบินแบบดิจิตอลในเวลาต่อมา นอกจากนั้นแล้วระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยดิจิตอลแบบเต็มรูปแบบ (Full Authority Digital Engine Controls) มีเพื่อจัดการการทำงานของขุมกำลังของเครื่องยนต์เทอร์โบแฟนแพรทท์ แอนด์ วิทนีย์ เอฟ100 ความไว้ใจได้ในระบบอิเลคทรอนิกของเอฟ-16 ขึ้นอยู่กับหอควบคุมการบิน แทนที่จะใช้สายเคเบิลและการควบคุมแบบทั่วไป ทำให้มันได้ชื่อเล่นว่าเจ็ทไฟฟ้า (the electric jet) ไม่นานระบบดังกล่าวก็กลายมาเป็นส่วนสำคัญในการออกแบบเครื่องบินขับไล่ วัตกรรมอื่นในเครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ยังรวมทั้งเรดาร์ จอแสดงผลแบบเอชดี คันบังคับ และหน้าจอแสดงผลที่หลากหลาย ทั้งหมดนั้นได้กลายมาเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญ วัสดุผสมที่มีโครงสร้างอัลลูมิเนียมแบบรวงผึ้ง และผิวกราไฟท์ถูกใช้สร้างเครื่องบินเพื่อลดน้ำหนัก เซ็นเซอร์หาและติดตามอินฟราเรดกลายมาเป็นที่แพร่หลายสำหรับการใช้อาวุธอากาศสู่พื้น และในอากาศสู่อากาศเช่นเดียวกัน ระบบนำวิถีด้วยอินฟราเรดกลายเป็นอาวุธพื้นฐาน ซึ่งทำให้การเข้าปะทะทำได้หลายมุม ขีปนาวุธนำวิถีด้วยอินฟราเรดพิสัยไกลแบบแรกที่เข้าประจำการคือเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ ซึ่งติดตั้งกับเอฟ-14 ทอมแคท หนึ่งในเครื่องบินขับไล่ปีกปรับมุมได้ที่เข้าสู่การผลิต อีกการปฏิวัติหนึ่งมาในรูปแบบของความไว้ใจได้แต่ดูแลรักษาง่าย ซึ่งคือชิ้นส่วนพื้นฐาน การลดจำนวนของแผงและลดชิ้นส่วนทั้งหมดที่ซับซ้อนอย่างเครื่องยนต์ เครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นรุ่นแรกๆ นั้นต้องใช้เวลา 50 ช.ม.ของคนงานต่อทุกชั่วโมงของเครื่องบินในอากาศ รุ่นต่อมาลดเวลาทำงานและเพิ่มเที่ยวบินให้มากขึ้น เครื่องบินทางทหารที่ทันสมัยบางรุ่นต้องการเพียงแค่ 10 ช.ม.ต่อหนึ่งชั่วโมงบินเท่านั้น และบ้างก็มีประสิทธิภาพมากกว่า วัตกรรมด้านอากาศพลศาสตร์ยังรวมทั้งปรกหลากรูปทรงและการใช้ประโยชน์จากกระแสลมในการยกตัวเพื่อทำมุมปะทะให้ได้มากขึ้น ไม่เหมือนกับเครื่องบินสกัดกั้นยุคก่อนๆ เครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ส่วนมากนั้นถูกออกแบบมาให้ว่องไวในการต่อสู้ทางอากาศ (ยกเว้นมิโคยัน มิก-31 และพานาเวีย ทอร์นาโด เอดีวี) แม้ว่าราคาของเครื่องบินขับไล่จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ก็ยังคงเน้นสำคัญไปที่ความสามารถหลายภารกิจอยู่ ความต้องการของเครื่องบินขับไล่ทั้งสองแบบนำไปสู่ความคิดพยายามทำราคาต่ำแต่คุณภาพสูง มันสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพที่สูงพร้อมราคาที่สูงตามไปด้วย หัวใจของการสร้างเครื่องบินขับไล่คือการเป็นเครื่องบินที่ยอดเยี่ยมแต่มีราคาถูก เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดยุคที่สี่ส่วนใหญ่ อย่าง เอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทและแดสซอลท์มิราจ 2000 เป็นเครื่องบินทวิบทบาทของแท้ มันถูกออกแบบมาให้เป็นแบบนั้นตั้งแต่แรก มันมาจากระบบอิเลคทรอนิกอากาศซึ่งสามารถสับเปลี่ยนการโจมตีระหว่างอากาศกับพื้นได้ การเพิ่มความสามารถในการโจมตีหรือการออกแบบในช่วงแรกสำหรับบทบาทที่แตกต่างกันไปนั้นกลายเป็นอดีต บทบาทโจมตีถูกมอบหมายให้กับเครื่องบินโจมตีอย่างซุคฮอย ซู-24 และเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิลหรือหากจะให้การสนับสนุนระยะใกล้ก็ตกเป็นของเอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 และซุคฮอย ซู-25 เทคโนโลยีที่ดูเกินจริงมากที่สุดก็อาจเป็นเทคโนโลยีล่องหน ซึ่งเป็นการใช้วัสดุและการออกแบบลำตัวเครื่อง ที่สามารถตรวจจับด้วยเรดาร์ของข้าศึกได้ยาก เครื่องบินล่องหนลำแรกคือเครื่องบินจู่โจมเอฟ-117 ไนท์ฮอว์ค (ปีพ.ศ. 2526) และเครื่องบินทิ้งระเบิดบี-2 สปิริต (ปีพ.ศ. 2532) ถึงแม้ว่าจะไม่มีเครื่องบินขับไล่ล่องหนในยุคที่สี่ แต่ม็มีรายงานถึงการใช้วัสดุดังกล่าวให้กับเครื่องบินขับไล่ยุคที่สี่ เมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงในปีพ.ศ. 2532 ทำให้หลายรัฐบาลลดการใช้จ่ายทางกองทัพเพื่อสันติ คลังแสงของกองทัพอากาศจึงถูกตัดขาด และโครงการวิจัยและพัฒนาตั้งใจที่จะพัฒนาสิ่งที่คาดว่าจะเป็น"เครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า" หลายโครงการถูกยกเลิกในครึ่งแรกของปีพ.ศ. 2533 ส่วนพวกที่รอดก็ยืดออกไป ในขณะที่การพัฒนาที่เชื่องช้าได้ลดการระดมทุนในแต่ละปี มันก็หวนคืนมาในแบบค่าปรับของโครงการทั้งหมดและราคาของหน่วยในระยะยาว อย่างไรก็ตามในกรณีนี้มันได้ทำให้นักออกแบบมีแรงกระตุ้นในการสร้างคอมพิวเตอร์ ระบบอิเลคทรอนิกอากาศ และระบบการบินอื่นๆ ซึ่งได้เป็นไปได้มากเนื่องจากการสร้างเทคโนโลยีไมโครชิปและเซมิคอนดักเตอร์ในปีพ.ศ. 2523 และพ.ศ. 2533 โอกาสครั้งนี้ทำให้นักออกแบบพัฒนาแบบต่อจากยุคที่สี่ หรืออกแบบใหม่ พร้อมด้วยความสามารถที่ก้าวหน้า การออกแบบพัฒนาเหล่านี้กลายมาเป็น"เครื่องบินขับไล่ยุคที่ 4.5" บ่งบอกว่ามันเป็นส่วนกลางระหว่างยุคที่สี่กับยุคที่ห้า และด้วยการช่วยเหลือจากพวกมันทำให้เกิดการพัฒนาไปไกลยิ่งกว่าในเทคโนโลยีของยุคที่ห้า เอกลักษณ์เฉพาะของยุคกึ่งๆ นี้คือการใช้งานทางด้านดิจิตอลและวัสดุอวกาศ และมีระบบร่วมกับอาวุธที่ดีเยี่ยม เครื่องบินขับไล่เหล่านี้ถูกออกแบบมาให้ทำงานโดยมีเครือข่ายศูนย์กลางและเป็นเครื่องบินทวิบทบาทที่หลายภารกิจ เทคโนโลยีด้านอาวุธมีทั้งขีปนาวุธระยะไกล อาวุธนำวิถีด้วยจีพีเอส เรดาร์ หมวกแสดงผล และความปลอดภัย การแบ่งข้อมูลที่ป้องกันการรบกวน การออกแบบด้านแรงขับเคลื่อนบางส่วนทำให้เครื่องบินบางแบบสามารถบินแบบซูเปอร์ครูซ (supercruise) ได้ เอกลักษณ์ในการล่องหนใช้เทคนิคทางด้านวัสดุที่ลดการสะท้อนและรูปร่างที่ไม่ธรรมดา แบบเหล่านี้เป็นการสร้างโครงสร้างจากเดิมที่มีอยู่แล้วหรือไม่ก็ดัดแปลงหรือสร้างขึ้นมาใหม่ตามทฤษฏี อย่างไรก็ตามการดัดแปลงเหล่านี้เป็นการใช้วัสดุผสมสร้างโครงสร้างเพื่อลดน้ำหนัก เพิ่มเชื้อเพลิงเพื่อระยะที่เพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ทที่พัฒนาการมาจากเอฟ/เอ-18 ฮอร์เน็ทและมิโคยัน มิก-29/มิโคยัน มิก-35 เครื่องบินเหล่านี้ใช้เรดาร์แบบใหม่ซึ่งพัฒนามาเพื่อยูโรไฟท์เตอร์ ไทฟูนและแดสซอลท์ราเฟล และ ยาส 39 อีกแบบก็คือเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล เป็นแบบโจมตีภาคพื้นดินของเอฟ-15 อีเกิลที่ได้รับโครงสร้างที่แข็งแกร่งขึ้นและเครื่องยนต์ที่ทรงพลัง ห้องนักบินที่ทันสมัย และระบบนำร่องและหาเป้าที่ยอดเยี่ยม ในยุคที่ 4.5 มีเพียงซูเปอร์ฮอร์เน็ท สไตรค์อีเกิล และราเฟลเท่านั้นที่เข้าทำการรบ เครื่องบินขับไล่ยุคที่ 4.5 เข้าประจำการครั้งแรกในปีพ.ศ. 2533 และพวกมันยังคงถูกผลิตออกมา ไม่เป็นที่แน่ชัดนักว่าพวกมันจะถูกผลิตพร้อมกับเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้าเนื่องมาจากระดับที่พัฒนาของเทคโนโลยีล่องหนที่ต้องการบรรลุการออกแบบของเครื่องบินขับไล่ที่มองเห็นได้ยาก ซึ่งเป็นหนึ่งในเอกลักษณ์ของเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า ในยุคที่ห้านั้นนำโดยเอฟ-22 แร็พเตอร์ของล็อกฮีด มาร์ตินเมื่อปลายปีพ.ศ. 2548 เครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้ามีเอกลักษณ์เป็นการที่มันถูกออกแบบตั้งแต่แรกให้ทำงานในระบบอิเลคทรอนิก และใช้วัสดุในการสร้างและรูปร่างที่ใช้เทคนิคสูง พวกมันมีเรดาร์เออีเอสเอและความสามารถในการส่งข้อมูลที่ยากที่จะถูกสกัดกั้น เซ็นเซอร์ค้นหาและติดตามอินฟราเรดใช้ในการต่อสู้ทางอากาศและอากาศสู่พื้น เซ็นเซอร์เหล่านี้เมื่อพร้อมกับระบบอิเลคทรอนิกอากาศ ห้องนักบินที่ทันสมัย หมวกพิเศษ และความปลอดภัย การป้องกันการสกัดกั้นข้อมูลจึงสูงเพื่อสร้างการรวบรวมข้อมูลต่อการระวังตัวในขณะที่ทำให้นักบินทำงานน้อยลง ระบบอิเลคทรอนิกนั้นใช้เทคโนโลยีทางวงจรที่รวดเร็วมาก และมีการส่งข้อมูลที่รวดเร็ว โดยรวมการผสมผสานปัจจัยทั้งหมดสร้างความสามารถที่ยอดเยี่ยมให้กับเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า เรดาร์เออีเอสเอให้ความสามารถที่ไม่ธรรมดากับเครื่องบิน มันมีการต้านทานอีซีเอ็มและอินฟราเรด มันทำให้เครื่องบินมีเอแว็กส์ขนาดย่อ ให้การสนันสนุนด้านสงครามอิเลคทรอนิก และการรบกวนทางอิเลคทรอนิก เทคโนโลยีอื่นๆ ที่เป็นที่รู้จักกันในรุ่นที่ห้าก็คือเทคโนโลยีสงครามอิเลคทรอนิก การสื่อสาร การนำร่อง และการระบุจำแนก ระบบแสดงสถานะของยานหาหนะสำหรับการซ่อมแซม และเทคโนโลยีการล่องหน การทำงานของความคล่องตัวยังคงเป็นเรื่องสำคัญและถูกพัฒนาโดยแรงขับเคลื่อน ซึ่งยังช่วยลดระยะในการขึ้นและลงจอด การบินแบบซูเปอร์ครูซอาจใช่และไม่ใช่จุดสำคัญ มันทำให้สามารถบินเหนือเสียงได้โดยที่ไม่ต้องใช้สันดาปท้าย ซึ่งสันดาปท้ายเป็นสิ่งที่เพิ่มสัญญาณอินฟราเรดอย่างมากเมื่อใช้เต็มพลัง หัวใจของเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้าคือการล่องหน มีการออกแบบโครงสร้างและภายในของมันเพื่อลดการสะท้อนและถูกตรวจจับโดยเรดาร์ นอกจากนั้นแล้วเพื่อทำให้มันล่องหนขณะทำการต่อสู้ อาวุธหลักจึงถูกบรรทุกไว้ในห้องเก็บที่ใต้ท้องเครื่องบินและจะเปิดออกเมื่ออาวุธถูกยิง ยิ่งไปกว่านั้นเทคโนโลยีล่องหนได้ก้าวหน้าจนสามารถใช้โดยไม่ต้องสูญเสียความสามารถในการบิน ในแบบก่อนนั้นเน้นไปที่การลดสัญญาณอินฟราเรด รายละเอียดของเทคนิคการลดสัญญาณเหล่านี้เป็นข้อมูลลับ แต่โดยทั่วไปแล้วจะเป็นการใช้รูปทรงพิเศษ วัสดุอย่างพลาสติกเทอร์โมเซทและเทอร์โมพลาสติก โครงสร้างผสมแบบพิเศษ วัสดุกันความร้อน สายตาข่ายที่ปิดบังส่วนหน้าของเครื่องยนต์และช่องระบายความร้อน และใช้วัสดุดูดซับเรดาร์ทั้งด้านนอกและด้านใน ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและความซับซ้อนของเครื่องบินสูงเท่ากับความสามารถของพวกมัน กองทัพอากาศสหรัฐฯ ได้วางแผนเดิมที่จะซื้อเอฟ-22 จำนวน 650 ลำแต่ในปัจจุบันดูเหมือนจะมีเพียง 200 ลำเท่านั้นที่จะถูกสร้าง ราคาของมันบานปลายเป็น 140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อขยายราคาในการพัฒนาและการผลิต โครงการจึงจัดขึ้นเพื่อมีประเทศอื่นๆ อีกแปดประเทศมาร่วมเสี่ยงและเป็นหุ้นส่วน ด้วนทั้งหมดประเทศหุ้นส่วนเก้าประเทศคาดหวังที่จะซื้อเอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 มากกว่า 3,000 ลำโดยมีราคาประมาณ 80-85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ อย่างไรก็ตามเอฟ-35 ถูกออกแบบมาให้มีสามทางเลือก คือ แบบที่ขึ้น-ลงแบบธรรมดา แบบที่ขึ้น-ลงในแนวตั้ง และแบบที่ใช้บนเรือบรรทุกเครื่องบินซึ่งก็มีราคาแตกต่างกันออกไป ประเทศอื่นๆ ได้เริ่มทำโครงการพัฒนาเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้า โดยมีซุคฮอย พีเอเค เอฟเอของรัสเซียที่คาดว่าจะเข้าประจำการในปีพ.ศ. 2555-2558 ในเดือนตุลาคมพ.ศ. 2550 รัสเซียและอินเดียได้ทำการพัฒนาเครื่องพีเอเค เอฟเอแบบสองที่นั่ง อินเดียยังได้กำลังพัฒนาเครื่องบินขับไล่รุ่นที่ห้าของตนเอง จีนได้รายงานว่าจะสร้างเครื่องบินขับไล่ยุคที่ห้าจำนวนมาก และทั้งญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ก็เช่นกัน  สหรัฐ YF-22 - 1990 YF-23 - 1990 X-36 - 1997 X-35 - 2000 X-32 - 2001  รัสเซีย Mikoyan Mig-35 Su-47 - 1997 MiG 1.44 - 1998 Mikoyan LMFS  ญี่ปุ่น Mitsubishi ATD-X - 2014  จีน J-31 - 2012  สวีเดน Flygsystem 2020  สหราชอาณาจักร BAE Replica  รัสเซีย  อินเดีย - HAL FGFA - 2022  เกาหลีใต้  อินโดนีเซีย - KAI KF-X - 2021  อินเดีย Advanced Medium Combat Aircraft - 2020  ตุรกี TXF - 2023  อาร์เจนตินา FMA SAIA 90 FMA I.Ae. 37 Ala Delta FMA I.Ae. 27 Pulqui FMA I.Ae. 33 Pulqui II  แคนาดา Avro Canada CF-105 Arrow  อียิปต์ Helwan HA-300  ฝรั่งเศส Dassault Mirage 4000 Dassault Mirage F2 Dassault Mirage G Dassault Mirage IIIV Aérocentre NC 1080  อิสราเอล IAI Lavi IAI Nammer  อิตาลี Aerfer Ariete / Aerfer Leone / Aerfer Sagittario 2  ญี่ปุ่น Nakajima J9Y Nakajima Ki-201  จีน Chengdu J-9 Shenyang J-13 Nanchang J-12  ปากีสถาน Project Sabre II  โรมาเนีย IAR 95  แอฟริกาใต้ Atlas Carver  รัสเซีย /  สหภาพโซเวียต Mikoyan Project 1.44 Sukhoi Su-47 Yakovlev Yak-141 Yak-43 Yakovlev Yak-45 Mikoyan-Gurevich Ye-8 Mikoyan-Gurevich Ye-150/Ye-151/Ye-152 Alekseyev I-211 / Alekseyev I-215 Lavochkin La-150 Lavochkin La-168 Sukhoi Su-9 (1946) Sukhoi Su-15 (1949) Sukhoi Su-17 (1949) Yakovlev Yak-7R Yakovlev Yak-19 Yakovlev Yak-25 (1947) / Yakovlev Yak-30 (1948) Yakovlev Yak-50 (1949)  รัสเซีย- อิหร่าน M-ATF  สวิตเซอร์แลนด์ FFA N-20  สหราชอาณาจักร Hawker P.1121 Hawker Siddeley P.1154 Gloster E.1/44 Saunders-Roe SR.A/1  สหรัฐ Northrop YF-17 Northrop F-20 Tigershark Bell D-188A Douglas F5D Skylancer Douglas F6D Missileer General Dynamics/Grumman F-111B Grumman XF12F Lockheed CL-1200/X-27 Lancer Lockheed YF-12 North American XF-108 Rapier Rockwell XFV-12 Vought XF8U-3 Crusader III Northrop F-20 Tigershark ยูโกสลาเวีย Novi Avion นาซีเยอรมนี Focke-Wulf Ta-183 Heinkel He 280 Horten Ho 229 Messerschmitt Me P.1101 Messerschmitt Me P.1106  เยอรมนีตะวันตก EWR VJ 101 VFW VAK 191B ข้อมูลและภาพของเครื่องบินขับไล่ เครื่องบินในสงครามโลกครั้งที่ 2 เครื่องบินของฝ่ายสัมพันธมิตรและอักษะในสงครามโลกครั้งที่ 2 ความสามารถของเครื่องบินขับไล่ คำอ้างอิงถึงเครื่องบินขับไล่ Fighter-planes.com: ช้อมูลและภาพ รายละเอียดของอากาศยานทางทหาร AirToAirCombat.com: เครื่องบินทางทหาร FighterPlanePhotos.com: ภาพเครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทางทหาร กองทัพอากาศ ศาสตร์การบินของสงครามโลกครั้งที่ 2 Aerospaceweb.org | ยุคของเครื่องบินขับไล่ ลี, อาเธอร์ กูลด์, ไร้ร่มชูชีพ ลอนดอน: แจร์โรลด์ส, พ.ศ. 2511 ไอเอสบีเอ็น 0090865901 ดาร์ลิง, เดวิด, "Lippisch Ente", สารานุกรมวิทยาศาสตร์ทางอินเทอร์เน็ต – เครื่องบินทดลอง, Accessed 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551 "เอ็มอี-163 คอเม็ท", Planes of Fame Air Museum, Accessed 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551 มันสัน, เคนเนธ, เครื่องบินขับไล่และเครื่องบินทิ้งระเบิดในสงครามโลกครั้งที่ 2, นิวยอร์ก ซิตี้: หนังสือขุนนาง, พ.ศ. 2526, หน้า 159, ไอเอสบีเอ็น 0907408370 แฟนทอมหายไปไหน? ราล์ฟ เวทเทอร์แฮน, นิตยสารแอร์ แอนด์ สเปซ, 1 มกราคม พ.ศ. 2552 ประเทศ ผู้ผลิต เครื่องบิน ปีที่สร้างเสร็จ รุ่น  จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี Knoller C.II 1916 ฝรั่งเศส Dewoitine D.520 1940 SPAD Fw 190 1916  จักรวรรดิเยอรมัน  เยอรมนี เมสเซอร์ชมิตต์ Bf 109 1937 Focke-Wulf Fw 190 1941 Fokker Dr.I 1917 D.VII 1918 Albatros Flugzeugwerke D.III 1916  อิตาลี Aermacchi C.205 1943 Fiat Aviazione Fiat G.55 1943 Reggiane Reggiane Re.2001 1941 Gio. Ansaldo & C. Ansaldo SVA 1917  จักรวรรดิญี่ปุ่น มิตซูบิชิ A6M Zero 1940 A6M2, A6M3, A6M5 Nakajima Ki-43 1941 Kawasaki Ki-10 1935 Yokosuka Ro-go Ko-gata 1918  จักรวรรดิรัสเซีย  สหภาพโซเวียต มิโคยัน MiG-3 1941 Russo-Balt Sikorsky S-16 1916  สหราชอาณาจักร Supermarine Spitfire 1938 Hawker Aircraft Hurricane 1937 Royal Aircraft Establishment S.E.5 1917  สหรัฐ กรัมแมน F4F Wildcat 1940 F6F Hellcat 1943 นอร์ทอเมริกัน P-51 Mustang 1942 Standard E-1 1917  ฟินแลนด์ Valtion VL Myrsky 1943  ออสเตรเลีย Commonwealth CAC Boomerang 1943  เชโกสโลวาเกีย Avia Avia B-135 1941  เนเธอร์แลนด์ Fokker Fokker D.XXI 1936 โรมาเนีย IAR IAR 80 1941 ยูโกสลาเวีย Ikarbus Rogožarski IK-3 1940 ฮังการี MÁVAG MÁVAG Héja 1941 ประเทศ ผู้ผลิต เครื่องบิน ปีที่สร้างเสร็จ ยุค รุ่น  จีน เฉิงตู J-10 2003 ยุค 4 J-10B J-20 2017 ยุค 5 J-7 1971 ยุค 2 เช็งยาง J-11 1998 ยุค 4 J-11B,J-15, J-16 J-8 1980 ยุค 3 J-6 1961 ยุค 2 J-5 1956 ยุค 1 J-31 2012 ยุค 5 ซีอาน JH-7 1992 ยุค 4 JH-7A,JH-7B  ฝรั่งเศส ดัซโซลท์ Mirage 2000 1982 ยุค 4 N/D Rafale 2000 ยุค 4.5 Mirage F1 1973 ยุค 3 Super Étendard 1978 ยุค 3 Mirage III 1961 ยุค 2  เยอรมนี เมสเซอร์ชมิตต์ Me 262 1944 ยุค 1 ไฮน์เกล He 162 1945 ยุค 1  อินเดีย HAL Tejas 2015 ยุค 4 Tejas Mark 2 Marut 1961 ยุค 2  อิหร่าน เอชอีเอสเอ Azarakhsh 1997 ยุค 3 Saeqeh 2007 ยุค 3  อิสราเอล ไอเอไอ Kfir 1976 ยุค 3  อิตาลี Fiat Aviazione G.91 1958 ยุค 2  ญี่ปุ่น มิตซูบิชิ F-2 2000 ยุค 4 F-2A/B F-1 1978 ยุค 3 ATD-X 2014 ยุค 5  เกาหลีใต้ เคเอไอ FA-50 2011 ยุค 4  ปากีสถาน  จีน พีเอซี เฉิงตู JF-17 Thunder 2007 ยุค 4  รัสเซีย ( สหภาพโซเวียต) มิโคยัน MiG-31 1982 ยุค 4 MiG-35 2016 ยุค 4.75 MiG-29 1983 ยุค 4.5 M, K MiG-15 1949 ยุค 1 MiG-17 1952 ยุค 1 MiG-19 1955 ยุค 2 MiG-21 1959 ยุค 2-3 MiG-23 1970 ยุค 3 MiG-25 1970 ยุค 3 ซุคฮอย Su-27 1984 ยุค 4 Su-30, Su-33, Su-34, Su-35 T-50 2016 ยุค 5 Su-7 1959 ยุค 2 Su-9 1959 ยุค 2 Su-11 1964 ยุค 2 Su-15 1965 ยุค 3 Su-17 1970 ยุค 3  แอฟริกาใต้ Atlas Atlas Cheetah 1986 ยุค 3  สวีเดน ซ้าบ JAS 39 Gripen 1997 ยุค 4.5 Saab 37 Viggen 1971 ยุค 3 Saab 35 Draken 1960 ยุค 2 Saab 32 Lansen 1956 ยุค 1-2 Saab 29 Tunnan 1950 ยุค 1  ไต้หวัน AIDC F-CK-1 Ching-kuo 1994 ยุค 4  สหราชอาณาจักร  เยอรมนี  อิตาลี Panavia Tornado ADV 1985 ยุค 4  สหราชอาณาจักร  เยอรมนี  อิตาลี  สเปน Eurofighter Typhoon 2003 ยุค 4.5  สหราชอาณาจักร ฮ็อคเกอร์ Hunter 1956 ยุค 2 บริติชแอร์โรว์สเปช ฮ็อคเกอร์ Sea Harrier 1978 ยุค 3 Gloster Meteor 1944 ยุค 1  สหรัฐ กรัมแมน F-14 Tomcat 1974 ยุค 4 เจเนรัล ไดนามิกส์ (ล็อกฮีด มาร์ติน) F-16 Fighting Falcon 1978 ยุค 4 แมคดอนเนลล์ดักลาส (โบอิง) F-15 Eagle 1976 ยุค 4 F-15E, F-15J F/A-18 Hornet 1983 ยุค 4 F/A-18E/F Super Hornet F-4 Phantom II 1960 ยุค 3 ล็อกฮีด มาร์ติน F-22 2005 ยุค 5 F-35 2012 ยุค 5 นอร์ทอเมริกัน F-86 1949 ยุค 1 นอร์ธรอป F-5 1962 ยุค 3 เอ-10 ธันเดอร์โบลท์ 2 เอฟ-86 เซเบอร์ พี-38 ไลท์นิ่ง และพี-51 มัสแตงกำลังบินเป็นหมู่ในงานแสดงที่ฐานทัพอากาศแลงก์ลีย์ในเวอร์จิเนีย ในการแสดงประกอบด้วยเครื่องบินขับไล่สองยุคของกองทัพอากาศสหรัฐฯ และเครื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) วิกเกอร์ส เอฟ.บี.5 กันบัส เครื่องบินสอดแนมขับไล่ แอร์โค ดีเอช.2 เครื่องโมคอง-ซูลเนียของเยอรมนี ฟอกเกอร์ อี.3 ไอน์เดกเกอร์ 210/16 ขณะบินเมื่อปีพ.ศ. 2459 เครื่องบินปีกสองชั้นแบบโซปวิธคาเมล 2เอฟ1 ที่พิพิธภัณฑ์สงครามจักรวรรดิในกรุงลอนดอน เครื่องบินขับไล่ขนาดหนักเมสเซอร์สมิต บีเอฟ 110 มิตซูบิชิ เอ6เอ็ม ซีโร่เป็นเครื่องบินที่รวดเร็วมากแต่ก็มีอาวุธและเกราะขนาดเบา ซูเปอร์มารีน สปิตไฟร์ เอ็กวีไอเป็นตัวอย่างของเครื่องบินที่มีความเร็วสูงและอัตราการไต่ระดับที่ดีในสงครามโลกครั้งที่ 2 เอฟ4เอฟ ไวลด์แคทกำลังลาดตระเวนในต้นปีพ.ศ. 2485 เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดฟอก-วัลฟ์ เอฟดับบลิว 190ดี-9 เครื่องบินทิ้งระเบิดกลางคืนบีเอฟ 110จี-4 ของเยอรมันที่พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศในลอนดอน เมสเซอร์สมิต เอ็มอี 163 เป็นเครื่องบินที่เร็วที่สุดในสงครามโลกครั้งที่ 2 และเป็นเครื่องบินขับไล่พลังจรวดที่ผลิตออกมามากที่สุด เมสเซอร์สมิต เอ็มอี 262เอที่พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศแห่งชาติของสหรัฐฯ เอฟ-100 ซูเปอร์เซเบอร์ของนอร์ธ อเมริกัน เครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิดเอฟ-105 ธันเดอร์ชิฟของรีพับลิก มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21 ของกองทัพอากาศเวียดนามที่ถูกยึดได้โดยอเมริกา เอฟ-4 แฟนทอม 2 ทำการฝึกทิ้งระเบิด มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-25 มิโคยัน มิก-31 ฟ็อกซ์ฮาวด์ ซุคฮอย ซู-27 แฟลงเกอร์ เอฟ-15 อีเกิล ซุคฮอย ซู-30 แฟลงเกอร์ เอฟ/เอ-18อี/เอฟ ซูเปอร์ฮอร์เน็ท เอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล เอฟ-22 แร็พเตอร์ เอฟ-35 ไลท์นิ่ง 2 อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ========================= เมืองประจวบคีรีขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมืองประจวบคีรีขันธ์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์เดิมในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีชื่อว่า "เมืองนารัง" หรือ "เมืองบางนางรม" ดังปรากฏในหนังสือคำให้การชาวกรุงเก่าได้ลำดับชื่อหัวเมืองปักษ์ใต้ดังนี้ "เมืองปราณ เมืองชะอัง เมืองนารัง เมืองบางตะพาน" เมืองเหล่านี้ก็คือ อำเภอปราณบุรี อำเภอชะอำ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ และอำเภอบางสะพานในปัจจุบัน หลังกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เมืองนารัง (บางนางรม) ก็เลิกร้างไป จนถึงสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเมืองบางนางรมขึ้นใหม่ที่ปากคลองบางนางรม แต่ที่ดินไม่เหมาะสมแก่การเพาะปลูก จึงย้ายที่ว่าการเมืองไปตั้งที่เมืองกุย ครั้นสมัยรัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2398 โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจากเมืองกุยเป็น "เมืองประจวบคีรีขันธ์" โดยรวมเมืองกุย เมืองคลองวาฬ เมืองบางนางรมเข้าด้วยกัน โดยที่ตั้งเมืองยังคงตั้งอยู่ที่เมืองกุย (คืออำเภอกุยบุรีในปัจจุบัน) ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ตั้งมณฑลราชบุรี ขึ้นในปี พ.ศ. 2438 เมืองประจวบคีรีขันธ์ซึ่งเป็นเมืองชั้นจัตวาขึ้นกับแขวงเมืองเพชรบุรีนั้นจึงได้รับจัดตั้งเป็น อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ สังกัดเมืองเพชรบุรี มณฑลราชบุรี พ.ศ. 2441 โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายที่ว่าการอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ มาตั้งอยู่ที่อ่าวเกาะหลัก ต่อมา วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2449 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการเหนือเกล้าให้รวมเอาอำเภอเมืองปราณบุรี อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธุ์ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอกำเนิดนพคุณ จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็นเมืองชั้นจัตวามาก่อนเข้ารวมเป็นเมืองปราณบุรี (จังหวัดปราณบุรี) ตั้งที่ตำบลเกาะหลัก อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์จึงได้แยกจากเมืองเพชรบุรีมาอยู่ในการปกครองของเมืองปราณบุรี เป็น อำเภอประจวบคีรีขันธ์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดให้เปลี่ยนชื่อเมืองปราณบุรีเป็น "เมืองประจวบคีรีขันธ์" เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2458 อำเภอประจวบคีรีขันธ์จึงสังกัดเมืองประจวบคีรีขันธ์ (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์) จนกระทั่งมีการเปลี่ยนชื่ออำเภอเป็น อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ และมีการเปลี่ยนนามอำเภอตามชื่อตำบลที่ตั้งอำเภอคือ อำเภอเกาะหลัก ภายหลังได้เปลี่ยนกลับมาเป็น "อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์" จวบจนถึงปัจจุบัน ตั้งอยู่กึ่งกลางของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 281 กิโลเมตร มีแนวชายแดนไทย-เมียนม่าร์ ยาวประมาณ 44 กิโลเมตร มีจุดผ่านแดน 1 แห่ง ได้แก่ ช่องด่านสิงขร หมู่ที่ 6 ตำบลคลองวาฬ ช่องที่แคบที่สุดของประเทศไทยกว้างประมาณ 11 กิโลเมตร อยู่ในเขตตำบลห้วยทราย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอกุยบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทย ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอทับสะแก ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตะนาวศรี (ประเทศพม่า) อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 ตำบล 63 หมู่บ้าน ได้แก่ ท้องที่อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลประจวบคีรีขันธ์ทั้งตำบล บางส่วนของตำบลเกาะหลัก และบางส่วนของตำบลอ่าวน้อย เทศบาลตำบล กม.5 ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลอ่าวน้อย เทศบาลตำบลคลองวาฬ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลคลองวาฬ องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหลัก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะหลัก (นอกเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์) องค์การบริหารส่วนตำบลคลองวาฬ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองวาฬ (นอกเขตเทศบาลตำบลคลองวาฬ) องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยทราย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลห้วยทรายทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลอ่าวน้อย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอ่าวน้อย (นอกเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์และเทศบาลตำบล กม.5) องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อนอก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ่อนอกทั้งตำบล ลักษณะโดยทั่วไป ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตก ซึ่งเป็นเทือกเขาตะนาวศรี อันเป็นเทือกเขากั้นระหว่างพรมแดนไทย กับพม่าลงสู่ด้านตะวันออก ซึ่งเป็นอ่าวไทย และมีเทือกเขาและภูเขากระจัดกระจายทั่วไป ทั้งบริเวณชายฝั่งทะเล และบริเวณส่วนกลางของพื้นที่จังหวัดซึ่งมีชายหาดและอ่าวที่สวยงามหลายแห่ง เช่น อ่าวประจวบฯ อ่าวมะนาวเป็นอ่าวที่ชายหาดรูปโค้งเสี้ยวพระจันทร์แต่งแต้มด้วยภูเขา ทิวเขา และเกาะแก่งต่าง ๆ ที่ผสมกลมกลืนกันตามธรรมชาติ เหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาสลับซับซ้อน สมดังความหมายของชื่อจังหวัดที่แปลว่า “เมืองที่มีภูเขาเป็นหมู่ ๆ ยาวพืดทั่วไป” ซึ่งมีภูเขากระจัดกระจายทั่วไป ทั้งบริเวณชายฝั่งทะเล และบริเวณส่วนกลางของจังหวัด พื้นที่อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ประกอบด้วย 6 ตำบล 1. ตำบลอ่าวน้อย คิดเป็นร้อยละ 40.28 2. ตำบลบ่อนอก คิดเป็นร้อยละ 22.39 3. ตำบลห้วยทราย คิดเป็นร้อยละ 13.63 4. ตำบลคลองวาฬ คิดเป็นร้อยละ 11.14 5. ตำบลเกาะหลัก คิดเป็นร้อยละ 10.90 6. ตำบลประจวบคีรีขันธ์ คิดเป็นร้อยละ 1.66 - พื้นที่ราบประมาณร้อยละ71 - เป็นภูเขาประมาณ ร้อยละ 28 - พื้นน้ำร้อยละ1 สภาพแหล่งน้ำ แหล่งน้ำธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นสายสั้น ๆ ที่เป็นอิสระแยกจากกันและไหลลงอ่าวไทยอยู่ในสภาพตื้นเขิน จะมีน้ำมากเฉพาะในช่วงฤดูฝน ส่วนในฤดูแล้งจะมีน้ำบ้างบางส่วน ซึ่งใช้ประโยชน์ในด้านการเกษตรได้บ้างเพียงส่วนน้อย แหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่ - คลองบึง ยาวประมาณ 20 กิโลเมตร - คลองบางนางรม ยาวประมาณ 40 กิโลเมตร ซึ่งเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ได้แบ่งเมืองสามอ่าว ทั้งหมด 3 อ่าว 1.อ่าวประจวบ หรือชื่อเต็มว่า อ่าวประจวบคีรีขันธ์ - ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ของตำบลประจวบคีรีขันธ์ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีเขาช่องกระจก สะพานปลาสราญวิถี 2.อ่าวมะนาว - ตั้งอยู่ในกองบิน 5 ตำบลเกาะหลัก อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3.อ่าวน้อย - ตั้งอยู่ในตำบลอ่าวน้อย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะอากาศ โดยทั่วไปไม่ร้อนไม่หนาวจนเกินไป ความชื้นอากาศปานกลาง เนื่องจากอยู่ใกล้ทะเล ในบางปีจะได้รับ อิทธิพลจากพายุโซนร้อน ซึ่งก่อตัวในทะเลจีน แล้วเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก กับมีความกดอากาศสูงจากประเทศจีนแผ่ลงมาเป็นละลอก ๆ ซึ่งอาจก่อให้เกิดสภาวะฝนปริมาณมากในเดือนตุลาคม โดยปกติจะมีลมพัดผ่านทุกฤดูกาล ในฤดูหนาวจะพัดมาจากทางทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ และเปลี่ยนเป็นลมตะวันออกเฉียงใต้ในฤดูร้อน ฤดูกาล อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ มี 3 ฤดู ได้แก่ 1. ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม จนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน เป็นระยะเวลาประมาณ 7เดือน โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งลมนี้พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย โดยฝนจะหนักในเดือนพฤษภาคม แล้วฝนจะทิ้งช่วงในเดือนมิถุนายน และเดือนกรกฎาคมหลังจากนั้นฝนจะตกหนักในช่วงเดือนสิงหาคม ถึงเดือนพฤศจิกายนมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,179 มิลลิเมตร 2. ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนธันวาคม ถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ในระยะนี้จะเป็นมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งลมนี้จะพัดมาจากบริเวณความกดอากาศสูงในทะเลจีนใต้ ซึ่งจะพัดเอาความร้อนขึ้นมา อุณหภูมิต่ำสุดประมาณ 25 องศาเซลเซียส 3. ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึง กลางเดือนพฤษภาคม โดยระยะนี้เป็นช่วงรอยต่อของฤดูลมมรสุมหลังจากสิ้นฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแล้ว อากาศจะเริ่มร้อน และมีอากาศร้อนที่สุดในเดือนเมษายน แต่ไม่ร้อนมากนักเนื่องจากภูมิประเทศเป็นคาบสมุทรอยู่ใกล้ทะเล กระแสลมและไอน้ำจากทะเลทำให้อากาศคลายร้อนลงไป อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 29 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ - เฉลี่ยตลอดทั้งปี 27 องศาเซลเซียส - สูงสุดวัดได้ 39.3 องศาเซลเซียส - ต่ำสุดวัดได้ 10.5 องศาเซลเซียส ประกาศ ตั้งเมืองปราณบุรี ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๒๓ ตอนที่ ๔๑ ประกาศ ณ วันที่ ๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๙ หน้าที่ ๑๐๖๒ ประกาศ เปลี่ยนนามเมืองปราณบุรี เป็นเมืองประจวบคีรีขันธ์ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๓๒ ตอนที่ ๐ ก ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ หน้าที่ ๑๗๖ บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ แคบสุดในสยาม เมืองงามสามอ่าว ดูดาวที่หว้ากอ ถิ่นก่อวีรกรรม ตำนานตาม่องล่าย ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ อักษรโรมัน Amphoe Mueang Prachuap Khiri Khan จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 844.0 ตร.กม. ประชากร 91,040 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 107.86 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 7701 รหัสไปรษณีย์ 77000, 77210 (เฉพาะตำบลบ่อนอกและหมู่ที่ 1, 4-10 ตำบลอ่าวน้อย) ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ ถนนก้องเกียรติ ตำบลประจวบคีรีขันธ์ อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000 พิกัด 11°48′30″N 99°47′48″E / 11.80833°N 99.79667°E / 11.80833; 99.79667 หมายเลขโทรศัพท์ 0 3261 1153 หมายเลขโทรสาร 0 3261 1153 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ประจวบคีรีขันธ์ (Prachuap Khiri Khan) - 2. เกาะหลัก (Ko Lak) 11 หมู่บ้าน 3. คลองวาฬ (Khlong Wan) 9 หมู่บ้าน 4. ห้วยทราย (Huai Sai) 13 หมู่บ้าน 5. อ่าวน้อย (Ao Noi) 16 หมู่บ้าน 6. บ่อนอก (Bo Nok) 14 หมู่บ้าน ด่านสิงขร ผู้ป่วย ======= ผู้ป่วย, ผู้รับการรักษา, คนไข้ หมายถึงผู้ที่เข้ารับบริการสุขภาพรูปแบบใด ๆ จากแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลเวชปฏิบัติ สัตวแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุขอื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะมีอาการป่วยจากโรคหรือการบาดเจ็บ และจำเป็นต้องได้รับการรักษา แต่บางครั้งอาจไม่ต้องก็ได้ บทความเกี่ยวกับแพทยศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:แพทยศาสตร์ บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย บทความนี้สั้นมาก ต้องการเพิ่มเนื้อหา บทความนี้ยังขาดแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง แพทย์กำลังวัดความดันเลือดให้กับผู้ป่วย ฉงชิ่ง ====== ฉงชิ่ง หรือ จุงกิง (จีนตัวย่อ: 重庆市; จีนตัวเต็ม: 重慶市; พินอิน: Chóngqìng Shì) เป็นเขตเทศบาลนคร ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีพื้นที่ติดกับมณฑลหูเป่ย์ หูหนัน กุ้ยโจว เสฉวนและส่านซี ภายในตัวเมืองมีแม่น้ำไหลพาดผ่านหลายสายเป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับ 8 ของจีน มีเนื้อที่ 82,300 ก.ม.² มีประชากร (พ.ศ. 2548) 31,442,300 คน ความหนาแน่น 379/ก.ม.² จีดีพี (2005) (310) พันล้านหยวน รวมต่อประชากร 8,540 พันล้านหยวน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น ฉงชิ่ง หรือ จุงกิง (จีนตัวย่อ: 重庆市; จีนตัวเต็ม: 重慶市; พินอิน: Chóngqìng Shì) เป็นเขตเทศบาลนคร ตั้งอยู่ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน มีพื้นที่ติดกับมณฑลหูเป่ย์ หูหนัน กุ้ยโจว เสฉวนและส่านซี ภายในตัวเมืองมีแม่น้ำไหลพาดผ่านหลายสายเป็นเมืองขนาดใหญ่อันดับ 8 ของจีน มีเนื้อที่ 82,300 ก.ม.² มีประชากร (พ.ศ. 2548) 31,442,300 คน ความหนาแน่น 379/ก.ม.² จีดีพี (2005) (310) พันล้านหยวน รวมต่อประชากร 8,540 พันล้านหยวน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวฮั่น ตั้งอยู่ทางตอนบนของแม่น้ำแยงซีเกียง ที่ตั้งและอาณาเขต ฉงชิ่งมีพื้นที่ติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ มณฑลส่านซี ประเทศจีน ทิศใต้ ติดต่อกับ มณฑลกุ้ยโจว ประเทศจีน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ มณฑลหูเป่ย์ และมณฑลหูหนาน ประเทศจีน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ มณฑลเสฉวน ประเทศจีน มีอุณหภูมิระหว่าง 24-25 องศาเซลเซียส สำหรับอุณหภูมิสูงสุดโดย เฉลี่ย 29-29.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดโดยเฉลี่ย 20.6-21 องศาเซลเซียส นครฉงชิ่งมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 266,539 ล้านหยวน (ปี 2004) เพิ่มขึ้น 12.2% เกษตรกรรม มีผลผลิตอุดมสมบูรณ์ และเป็นฐานการผลิตที่สำคัญ ได้แก่ วัตถุดิบข้าว หมู รังไหม ส้ม ส้มจีน และใบยาสูบ ปี 2003 พื้นที่การเกษตรลดลง 5.3% แต่ผลผลิตเพิ่มขึ้น 0.5% อุตสาหกรรม ฉงชิ่งเป็นหนึ่งในสามของแหล่งสินแร่ที่สำคัญของประเทศ เท่าที่สำรวจพบ ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ สตรอนเตียม อะลูมิเนียม แมงกานีส หินปูน ยิปซั่ม ปรอท หินเขี้ยวหนุมาน หินเกลือ และอื่นๆ กว่า 38 ชนิด ในจำนวนนี้แร่สตรอนเตียมมีมากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ และเป็นอันดับสองของโลก ฉงชิ่งเป็นหนึ่งในเขตอุตสาหกรรมเก่าแก่ของจีน ในปี 2003 มีมูลค่าการเติบโตทางการผลิตในภาคอุตสาหกรรมสูงถึง 76,836 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 16.4% อุตสาหกรรมหลัก 3 ประเภทที่ก่อรูปก่อร่างขึ้น ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักรกล การค้าระหว่างประเทศ ปี 2003 มูลค่าการนำเข้าส่งออก 2,595 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 44.6% ในจำนวนนี้เป็นมูลค่าส่งออก 1,585 ล้านเหรียญฯ และมูลค่านำสินค้านำเข้า 1,010 ล้านเหรียญฯ ฉงชิ่ง มี มหาวิทยาลัยฉงชิ่ง (重庆大学) มหาวิทยาลัยซีหนาน นครฉงชิ่ง ตึกสมัยใหม่ วิวฉงชิ่ง ริมน้ำแยงซี รถราง Cable car บริเวณท่าเรือ ชาวจีนเหยื่อของการโจมตีทางอากาศโดยทหารอากาศญี่ปุ่นที่เสียชีวิตขณะกำลังพยายามวิ่งไปหลุมหลบภัย ถ่ายเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1941 http://thai.cri.cn/1/2007/06/09/Zt21@100926.htm พิกัดภูมิศาสตร์: 29°33′00″N 106°30′25″E / 29.55°N 106.507°E / 29.55; 106.507 แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ ฉงชิ่ง แผนที่ จาก มัลติแมป โกลบอลไกด์ หรือ กูเกิลแผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ จาก เทอร์ราเซิร์ฟเวอร์ ภาพถ่ายดาวเทียม จาก วิกิแมเปีย บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก ชื่อย่อ: 渝 หยู ชื่อเรียก ฉงชิ่ง (จุงกิง) อักษรไทย ฉงชิ่ง (จุงกิง) ภาษาจีน - อักษรจีนตัวย่อ 重庆市 - อักษรจีนตัวเต็ม 重慶市 - พินอิน Chóngqìng Shì อักษรโรมัน Chongqing, Chungking ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง นครฉงชิ่ง เขตหยูจง (渝中区) ความหมายของชื่อ 重 ฉง - ซ้ำ 庆 ชิ่ง - เฉลิมฉลอง "เฉลิมฉลองซ้ำ" ปีสถาปนา ประเภทเขตปกครอง เทศบาลนคร ผู้ว่าการ WANG, Hong-Ju (王鸿举) พื้นที่ 82,300 ตร.กม. (อันดับที่ 26) ประชากร (ข้อมลปี พ.ศ. 2548) - เขตเมือง 4,100,000 (อันดับที่ 20) - ความหนาแน่น 379 คน/กม² (อันดับที่ 10) - ปริมณฑล 32,700,000 GDP (พ.ศ. 2547) 310 ล้านล้านเหรินหมินปี้ (อันดับ 24) - ต่อหัว 8,540 เหรินหมินปี้ (อันดับ 20) HDI (พ.ศ. 2548) 0.822 ชาติพันธุ์หลัก ฮั่น - 91 % ตูเจีย - 5 % ม้ง - 2 % จำนวนเมือง/อำเภอ 40 จำนวนตำบล 1,259 รหัสไปรษณีย์ 4000 - 4099 รหัสโทรศัพท์ ISO 3166-2 CN-50 เว็บไซต์ http://www.chongqing.gov.cn (อักษรจีนตัวย่อ) http://www.cq.gov.cn/english (ภาษาอังกฤษ) บทความนี้มีข้อความภาษาจีน หากไม่มีการสนับสนุนเรนเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่องหรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักษรจีน นัยน์ตาปีศาจ ============ นัยน์ตาปีศาจ (อังกฤษ: Evil eye) เป็นการมองที่เชื่อกันในหลายวัฒนธรรมว่าสามารถทำให้ผู้ถูกมองได้รับการบาดเจ็บหรือโชคร้าย อันเกิดจากการจ้องมองด้วยความอิจฉาหรือความเดียดฉันท์ คำนี้มักจะหมายถึงอำนาจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในการก่อให้เกิดสิ่งที่เลวร้ายได้ด้วยการมองอย่างประสงค์ร้าย ความเชื่อดังกล่าวทำให้วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมพยายามหาทางป้องกันก่อนที่จะเกิดสิ่งที่เลวร้ายขึ้น ความคิดและความสำคัญของนัยน์ตาปีศาจก็แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ความเชื่อนี้ปรากฏหลายครั้งในบทแปลของพันธสัญญาเดิม และแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางในบรรดาอารยธรรมของกลุ่มชนต่าง ๆ ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน กรีซคลาสสิกอาจจะเรียนรู้จากอียิปต์โบราณ และต่อมาก็ผ่านความเชื่อนี้ต่อไปยังโรมันโบราณ นัยน์ตาปีศาจ (อังกฤษ: Evil eye) เป็นการมองที่เชื่อกันในหลายวัฒนธรรมว่าสามารถทำให้ผู้ถูกมองได้รับการบาดเจ็บหรือโชคร้าย อันเกิดจากการจ้องมองด้วยความอิจฉาหรือความเดียดฉันท์ คำนี้มักจะหมายถึงอำนาจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในการก่อให้เกิดสิ่งที่เลวร้ายได้ด้วยการมองอย่างประสงค์ร้าย ความเชื่อดังกล่าวทำให้วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมพยายามหาทางป้องกันก่อนที่จะเกิดสิ่งที่เลวร้ายขึ้น ความคิดและความสำคัญของนัยน์ตาปีศาจก็แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ความเชื่อนี้ปรากฏหลายครั้งในบทแปลของพันธสัญญาเดิม และแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางในบรรดาอารยธรรมของกลุ่มชนต่าง ๆ ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน กรีซคลาสสิกอาจจะเรียนรู้จากอียิปต์โบราณ และต่อมาก็ผ่านความเชื่อนี้ต่อไปยังโรมันโบราณ แนวความเชื่อบางอย่างเกี่ยวกับนัยน์ตาปีศาจเชื่อว่าคนบางคนสามารถนำอันตรายมายังผู้อื่นได้ด้วยการจ้องด้วยตาที่มีเวทมนตร์ที่ประสงค์ร้าย แต่โดยทั่วไปแล้วมักจะเป็นการจ้องด้วยความอิจฉา และความรุนแรงของอันตรายต่อผู้ที่ถูกจ้องก็ต่างกันออกไป ในบางวัฒนธรรมก็กล่าวว่าผู้ถูกจ้องจะประสบกับโชคร้าย หรือในกรณีอื่นก็เชื่อว่าการจ้องจะทำให้ผู้ถูกจ้องป่วย และบางครั้งอาจจะมีอาการหนักถึงเสียชีวิตได้ ในวัฒนธรรมเกือบทุกวัฒนธรรมเหยื่อของเวทมนตร์ส่วนใหญ่เชื่อกันว่าจะเป็นเด็กหรือทารก เพราะเด็กมักจะได้รับการเยินยอสรรเสริญจากคนแปลกหน้า หรือ จากสตรีที่ไม่มีบุตร แอแลน ดันด์สศาสตราจารย์สาขาวิชาตำนานพื้นบ้านแห่งมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ผู้ทำการศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อนี้ในวัฒนธรรมต่างๆ และพบว่ามีพื้นฐานร่วมกันอยู่อย่างหนึ่งที่ว่าการแก้เคล็ดจะเกี่ยวกับการทำให้ชื้น และ การป้องกันจากภัยของการถูกมนต์ขลังของนัยน์ตาปีศาจ ที่ทำได้ด้วยปลาในบางวัฒนธรรมมีความเกี่ยวโยงกับปลาจะเปียกอยู่ตลอดเวลา ดันด์สข้อสังเกตตังกล่าวใน “Wet and Dry: The Evil Eye” ความเชื่อเกี่ยวกับนัยน์ตาปีศาจในรูปแบบหนึ่งกล่าวว่า ผู้หนึ่งตามปกติแล้วจะมิได้เป็นผู้มีความประสงค์ร้ายต่อผู้ใดอาจจะมีอำนาจในการทำร้ายผู้ใหญ่, เด็ก, สัตว์เลี้ยง หรือ สิ่งของได้โดยเพียงแต่จ้องด้วยความอิจฉา คำว่า “Evil” อาจจะเป็นคำที่ทำให้เข้าใจผิดในบริบทนี้ เพราะเป็นคำที่มีนัยยะว่าบุคคลดังกล่าวจงใจที่จะ “แช่ง” ผู้โชคร้าย ความเข้าใจในความคิดเกี่ยวกับ “evil eye” ให้ดีขึ้นอาจจะมาจากคำภาษาอังกฤษสำหรับการจ้องมองด้วยนัยน์ตาปีศาจที่เรียกว่า “overlooking” ที่เป็นนัยยะว่าเป็นการจ้องอย่างจงใจเป็นเวลานานกว่าเหตุต่อสิ่งที่ประสงค์จะจ้องไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์เลี้ยง หรือ สิ่งของ ขณะที่วัฒนธรรมบางวัฒนธรรมเชื่อว่านัยน์ตาปีศาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างไม่ได้ตั้งใจโดยผู้ที่โชคร้ายพอที่จะถูกแช่งโดยอำนาจที่มาจากการจ้องมอง แต่กระนั้นก็มีผู้ที่เชื่อว่าเป็นอำนาจที่เกิดขึ้นที่อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นอย่างจงใจแต่ก็เป็นอำนาจที่มาจากความอิจฉา หลักฐานทางลายลักษณ์อักษรและหลักฐานทางโบราณคดียืนยันว่าความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจทางตะวันออกของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนดำเนินมาเป็นเวลาหลายพันปี ที่เริ่มด้วย เฮซิโอด, คาลลิมาคัส, เพลโต, ดิโอโดรัส ซิคัลลัส, ธีโอคริตัส, พลูทาร์ค, พลินิ และ ออลัส เกลลิอัส ในงานเขียน “Envy and the Greeks” (ไทย: ความอิจฉาและชาวกรีก) ที่เขียนในปี ค.ศ. 1978) ปีเตอร์ วอลค็อทกล่าวถึงงานอ้างอิงกว่าร้อยชิ้นของนักประพันธ์ผู้เขียนงานเกี่ยวกับนัยน์ตาปีศาจ การศึกษางานอ้างอิงเหล่านี้เพื่อทำการเขียนเกี่ยวกับนัยน์ตาปีศาจก็ยิ่งทำให้มองเห็นภาพที่ขาดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นไปอีก ไม่ว่าจะเป็นการเขียนจากมุมมองของตำนานพื้นบ้าน, เทววิทยา, คลาสสิก หรือ มานุษยวิทยา ขณะการเขียนจากแนวต่างๆ เหล่านี้มักจะอ้างอิงถึงแหล่งข้อมูลที่ใกล้เคียงกัน แต่กระนั้นแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่งก็จะมีมุมมองของความเข้าใจนัยน์ตาปีศาจที่ต่างกันออกไป ที่ว่าเป็นความเชื่อที่ว่าบุคคลบางคนมีตาที่มีอำนาจในการก่อให้เกิดความเจ็บป่วยหรือความตายแก่ผู้ที่ถูกจ้องมองได้ไม่ว่าจะโดยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจในสมัยโบราณมีพื้นฐานมาจากหลักฐานของแหล่งข้อมูลเช่น อริสโตฟานีส, เอเธเนียส และ พลูทาร์ค และยังมีผู้คาดกันว่าโสกราตีสเป็นผู้มีอำนาจในการใช้นัยน์ตาปีศาจ และผู้ติดตามและผู้ชื่นชมในตัวโสกราตีสต่างก็หลงเสน่ห์จากการจ้องมองอย่างเอาจริงเอาจังของโสกราตีส ลูกศิษย์ของโสกราตีสเรียกกันว่า “Blepedaimones” ที่แปลว่าการมองอย่างดีมอน (demon) ไม่ใช้เพราะเป็นผู้ที่ถูกสิงหรือมีอำนาจในการใช้นัยน์ตาปีศาจ แต่เพราะถูกสงสัยว่าเป็นผู้ที่ตกอยู่ภายใต้การสะกดจิตและอันตรายจากการชักจูงของโสกราตีส ในสมัยกรีก-โรมันคำอธิบายอย่างมีเหตุผลของอำนาจของนัยน์ตาปีศาจเป็นสิ่งที่ปรากฏทั่วไป คำอธิบายของพลูทาร์คกล่าวว่าตาคือสิ่งที่สำคัญที่สุดถ้าไม่เป็นสิ่งเดียว ที่เป็นที่มาของรังสีที่เป็นอันตรายที่พุ่งออกมาราวกับศรพิษจากส่วนลึกของบุคคลผู้เป็นเจ้าของอำนาจของนัยน์ตาปีศาจ (Quaest.Conv. 5.7.2-3=Mor.80F-81f) พลูทาร์คกล่าวถึงอำนาจของนัยน์ตาปีศาจว่าเป็นสิ่งที่ดูเหมือนจะเป็นสิ่งไม่อาจจะอธิบายได้ที่เป็นแหล่งของอำนาจอันวิเศษและเป็นที่มาของความน่ากังขา ความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจในสมัยโบราณก็ต่างกันออกไปตามแต่ภูมิภาคและยุคสมัย และความกลัวนัยน์ตาปีศาจก็รุนแรงไม่เท่าเทียมกันไปทุกมุมเมืองในจักรวรรดิโรมัน บางท้องที่ก็อาจจมีความหวาดกลัวที่สูงกว่าท้องที่อื่น ในสมัยดรมันไม่แต่บุคคลเท่านั้นที่เชื่อกันว่าอาจจะเป็นผู้มีอำนาจในการใช้นัยน์ตาปีศาจ และ อาจจะเป็นกลุ่มชนทั้งกลุ่ม โดยเฉพาะประชากรชาวพอนทัส หรือ ซิทเธียที่เชื่อกันว่าเป็นกลุ่มชนที่มีอำนาจในการใช้นัยน์ตาปีศาจ การเผยแพร่ของความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจไปทางตะวันออกเกิดขึ้นระหว่างการขยายอำนาจของอเล็กซานเดอร์มหาราชที่เป็นการเผยแพร่ความเชื่อนี้และความเชื่อต่างๆ ของกรีกไปทั่วจักรวรรดิ ความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจที่รุนแรงที่สุดอยู่ในบริเวณตะวันออกกลาง, แอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาตะวันตก, อเมริกากลาง, เอเชียใต้, เอเชียกลาง และ ยุโรป โดยเฉพาะในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน ที่นอกจากนั้นแล้วก็ยังเผยแพร่ไปยังบริเวณอื่นที่รวมทั้งตอนเหนือของยุโรป โดยเฉพาะในบริเวณวัฒนธรรมเคลต์ และใน อเมริกา ที่นำเข้าไปโดยนักอาณานิคมยุโรป และต่อมาผู้ย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานที่มาจากตะวันออกกลาง, แอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาตะวันตก, อเมริกากลาง ความเชื่อในเรื่องนัยน์ตาปีศาจพบในบทเขียนของอิสลามที่ศาสดามุฮัมมัด กล่าวว่า “อิทธิพลของนัยน์ตาปีศาจเป็นเรื่องที่จริง...” นอกจากนั้นกิจการการขจัดนัยน์ตาปีศาจก็ยังเป็นประเพณีที่ถือปฏิบัติกันอย่างแพร่หลายโดยมุสลิม เช่นแทนที่จะกล่าวชมความงามของเด็กโดยตรง ก็มักจะกล่าวว่า “ما شاء الل” ที่แปลว่า “ถ้าเป็นสิ่งพระเจ้ามีพระสงค์” แทนที่ ซึ่งเท่ากับเป็นการกล่าวว่าเป็นพรที่เป็นอำนาจของพระเจ้าที่ประทานให้บุคคลที่ได้รับการชื่นชม นอกจากจะมีหลักฐานสนับสนุนในบทเขียนของอิสลามแล้ว ก็ยังมีความเชื่ออื่นๆ ในเรื่องนัยน์ตาปีศาจที่ไม่มีหลักฐานยืนยันที่พบในศาสนาพื้นบ้านที่มักจะเกี่ยวกับการใช้เครื่องรางในการป้องกันจากภัยที่อาจจะประสบ แม้ว่าความคิดในเรื่องการจ้องมองแทบจะไม่พบในสังคมเอเชียตะวันออก และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ความเชื่อเรื่องการ Usog ในฟิลิปปินส์ถือเป็นข้อยกเว้น ชาวยิวอัชเคนาซิในยุโรปและสหรัฐอเมริกา[ใคร?] มักจะอุทานว่า “Keyn aynhoreh” (ไทย: ไม่เอานัยน์ตาปีศาจ) ในภาษายิดิช เพื่อเป็นการป้องกันจากการสาปแช่งหลังจากที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับคำชมโดยไม่ทันคิด หรือ หลังจากการประกาศข่าวดี ในบริเวณภูมิภาคอีเจียน และอื่นๆ ที่ผู้มีตาสีอ่อนน้อย ก็เป็นที่เชื่อกันว่าผู้ที่มีตาสีเขียวเป็นผู้มีอำนาจในการใช้นัยน์ตาปีศาจไม่ว่าจะโดยการจงใจหรือไม่จงใจก็ตาม ความเชื่อนี้อาจจะมีสาเหตุมาจากการที่ผู้คนจากต่างวัฒนธรรมที่ไม่คุ้นกับความเชื่อดังกล่าว เช่นผู้คนจากทางเหนือของยุโรป อาจจะปฏิบัติในสิ่งที่ขัดกับประเพณีท้องถิ่นในการจ้องมองหรือการชมความงามของเด็ก ฉะนั้นในกรีซและตุรกีเครื่องรางที่ใช้ในการต่อต้านอำนาจของนัยน์ตาปีศาจจึงเป็นตาสีฟ้า สำหรับผู้ที่ไม่เชื่อในเรื่องของอำนาจของนัยน์ตาปีศาจ คำเปรยเช่น “to give someone the evil eye” จึงมักจะมีความหมายเพียงว่าเป็นการจ้องมองด้วยความโกรธหรือความเดียดฉันท์เท่านั้น การพยายามที่จะป้องกันจากนัยน์ตาปีศาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการใช้เครื่องรางกันหลายวัฒนธรรม เครื่องรางประเภทนี้จัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า “apotropaic” (ที่มาจากภาษากรีกว่า “prophylactic” หรือ “ป้องกัน”) ที่แปลตรงตัวว่าเครื่องรางที่ “หันเหไปทางอื่น” หรือปัดอันตรายไปทางอื่น สิ่งที่ง่ายที่สุดในการป้องกันในประเทศยุโรปที่เป็นคริสเตียนคือกาทำสัญญาณกางเขนด้วยนิ้วมือไปยังแหล่งที่มาของอันตราย หรือ ผู้โดยอันตรายที่บรรยายในบทแรกของนวนิยายเรื่อง “แดรคคิวลา” โดยแบรม สโตเคอร์ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1897: แป้นหรือลูกกลมที่เป็นวงน้ำเงินรอบวงกลมขาว ที่รอบนอกมักจะเป็นสีน้ำเงินเข้ม ตามด้วยสีน้ำเงินอ่อน, ขาว และ น้ำเงินเข้ม เป็นสัญลักษณ์ของนัยน์ตาปีศาจที่เป็นที่นิยมใช้เป็นยันต์ในตะวันออกกลางที่อาจจะพบที่หัวเรือในเรือที่ใช้ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนและที่อื่นๆ ตามตำนานแล้วตายันต์ที่จ้องเป็นสิ่งที่หันเหนการจ้องด้วยความประสงค์ร้ายกลับไปยังผู้จ้อง เครื่องยันต์ดังกล่าวเรียกว่า “nazar” (ตุรกี: nazar boncuğu หรือ nazarlık) ที่จะเป็นเครื่องยันต์ที่เห็นกันอย่างแพร่หลายในตุรกี ที่จะพบในหรือหน้าบ้าน หรือบนรถยนต์ หรือสรวมใส่เป็นสร้อยลูกปัด ตาสีฟ้าอาจจะพบในรูปแบบอื่นเช่น “มือฮัมซา” ซึ่งมีรูปร่างเป็นมือที่มีตาอยู่บนฝ่ามือที่พบในตะวันออกกลาง นอกจากนั้นคำว่า “hamsa” อาจจะสะกดเป็น “khamsa” หรือ “hamesh” คือ “ห้า” ที่หมายถึงนิ้วห้านิ้ว ในฆราวัสวัฒนธรรมของชาวยิว ฮัมซาเรียกว่า “มือของมิเรียม” และในวัฒนธรรมมุสลิมเรียกว่า “มือของฟาติมะห์” นัยน์ตาปีศาจในภาษากรีกเรียกว่า “ματι” ที่ใช้เป็นเครื่องยันต์มาตั้งแต่อย่างน้อยก็ในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสต์ศักราช ที่พบเสมอบนภาชนะสำหรับดื่ม ในกรีซนัยน์ตาปีศาจถูกกำจัดโดย “ξεμάτιασμα” (“xematiasma”) โดยผู้ทำการจะท่องมนต์คาถาลับที่ได้มาจากญาติโยมอาวุโสเพศตรงข้ามที่มักจะเป็นปู่ย่า คาถาจะได้รับก็เมื่อมีสถานการณ์ที่เฉพาะเจาะจงเกิดขึ้น เพราะผู้ที่ถ่ายทอดคาถาเมื่อถ่ายทอดแล้วตนเองก็จะหมดอำนาจในการขจัดภัยจากนัยน์ตาปีศาจ คาถาเหล่านี้ก็แตกต่างกันไปตามแต่ท้องถิ่น แต่บทที่นิยมใช้กันก็จะเป็นคาถาที่อ้างถึงพระแม่มารี ที่ท่องสามครั้ง กล่าวกันว่าถ้าผู้ใดถูกมนต์ของนัยน์ตาปีศาจเข้าทั้งผู้ถูกมนต์และผู้รักษาก็จะมีอาการหาวอย่างต่อเนื่องกัน ผู้รักษาก็จะทำสัณญาณกางเขนสามครั้ง และ ถุยน้ำลายขึ้นไปสามครั้ง การ “ทดสอบ” อีกอย่างหนึ่งคือการเช็คคือการเช็คน้ำมัน ตามปกติแล้วน้ำมันมะกอกจะลอยในน้ำเพราะน้ำมันเบากว่าน้ำ การทดสอบก็ทำได้โดยเอาน้ำมันหยดหนึ่งใส่ลงไปในแก้วน้ำโดยเฉพาะน้ำมนต์ ถ้าหยดน้ำมันลอยก็แปลว่าไม่ได้ถูกมนต์จากนัยน์ตาปีศาจ แต่ถ้าน้ำมันไม่ลอยขึ้นมาก็แปลว่าต้องมนต์ อีกวิธีหนึ่งเอาน้ำมันสองหยดใส่ลงไปในแก้วน้ำแยกกัน ถ้าน้ำมันทั้งสองหยดยังคงไม่มารวมกันก็แปลว่าน้ำมันนั้นไม่ต้องมนต์ แต่ถ้ามารวมกันเป็นหยดเดียวกันก็แปลว่าต้องมนต์ การทดลองนี้มักจะทำกับผู้สูงอายุที่ต้องสงสัยว่าเป็นผู้มีอำนาจในการรักษา คริสต์ศาสนปราชญ์ของกรีกยอมรับความเชื่อเรื่องนัยน์ตาปีศาจเกี่ยวกับปีศาจ และ ความอิจฉา ในเทววิทยาของกรีกนัยน์ตาปีศาจ หรือ “βασκανία” (vaskania) ถือว่าเป็นสิ่งที่มีอันตรายต่อผู้ที่แสดงใช้ความอิจฉาในการสร้างอันตรายต่อผู้อื่นนอกไปจากผู้ที่ถูกต้องมนต์เอง ลัทธิกรีกออร์โธด็อกซ์มีบทสวดมนต์สำหรับป้องกันจาก “βασκανία”จากหนังสือสวดมนต์ อ “Μέγαν Ιερόν Συνέκδημον” (Mega Hieron Syenekdymon). ในสมัยโรมันโบราณมีผู้ที่เชื่อว่าเครื่องรางองคชาต และ สิ่งตกแต่งเป็นสิ่งที่ใช้กันนัยน์ตาปีศาจ เครื่องรางดังกล่าวในภาษาละตินเรียกว่า “Fascinus” หรือ “หน่อองคชาต” ที่มาจากคำกิริยา “Fascinare” (ต้นรากของคำว่า “Fascinate” ในภาษาอังกฤษ) ที่แปลว่า “แช่งชัก” เช่นเดียวการใช้นัยน์ตาปีศาจ ตัวอย่างหนึ่งของเครื่องรางดังกล่าวก็ได้แก่ “เครื่องรางคอร์นิเชลโล” (cornicello) ที่แปลตรงตัวว่า “เขาเล็ก” ในภาษาอิตาลีสมัยใหม่เรียกว่า “Cornetti” หรือบางที่ก็เรียกว่า “Cornuto” หรือ “Corno” ที่ต่างก็แปลว่าเขา ซึ่งเป็นเครื่องรางรูปเขาที่บิดม้วนเล็กน้อย เครื่องรางคอร์นิเชลโลมักจะแกะจากปะการังสีแดงหรือจากเงินหรือทอง เขาที่ใช้เป็นทรงที่เลียนแบบเขาแกะหรือแพะ แต่อันที่จริงแล้วบิดเหมือนเขาละมั่งแอฟริกาหรือสัตว์ตระกูลเดียวกันมากกว่า ในบรรดาชนชาติในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ไม่ใช้เครื่องยันต์ที่เป็นองค์ชาติก็อาจจะใช้สัญลักษณ์ที่ทำด้วยมือแทนโดยการชูนิ้วชี้และนิ้วก้อย ในลาตินอเมริกางานสลักของกำมือที่หัวแม่มือกดระหว่างนิ้วชี้และนิ้วกลางก็ยังใช้เป็นเครื่องรางนำโชคกันอยู่ ในหนังสือ “A History of Oral Interpretation” (ประวัติของการตีความหมาย) โดยยูจีน บาห์น และ มาร์กาเร็ต แอล. บาห์นกล่าวว่า “'วัตถุประสงค์สำคัญของคำพูดคือการพิทักษ์จากนัยน์ตาปีศาจ และแม้ในปัจจุบันก็ยังคงมีบทขับสำหรับป้องกันจากความโชคร้ายในสถานการณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง” ที่มีสาเหตุมาจาก “อุปกรณ์เพื่อยับยั้งความอิจฉาของจิตวิญญาณที่มีอำนาจเหนือชะตาของมนุษย์. . .” “นัยน์ตาปีศาจ” ได้รับการกล่าวถึงหลายครั้งใน “Ethics of Our Fathers” (หลักจริยธรรมของบรรพบุรุษ) โดย Pirkei Avot ในบทที่ 2 กล่าวถึงลูกศิษย์ห้าคนของราไบโยคานัน เบน ซาไคที่ให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการดำรงชีวิตในแนวทางที่ดีและเลี่ยงการทำความชั่ว ราไบเอลิเอเซอร์กล่าวว่านัยน์ตาปีศาจเลวร้ายกว่าเพื่อน หรือ เพื่อนบ้านที่เลว หรือ ผู้ประสงค์ร้าย ศาสนายูดายเชื่อว่า “ตาดี” เป็นตาที่ส่งความประสงค์ดีและความกรุณาต่อผู้อื่น ผู้ที่มีทัศนคติดังกล่าวจะมีความสุขกับการได้ดีของผู้อื่น และเป็นผู้มีความประสงค์ดีต่อเพื่อนมนุษย์ ส่วน “นัยน์ตาปีศาจ” เป็นทัศนคติตรงกันข้าม ผู้ที่เป็นเจ้าของ “นัยน์ตาปีศาจ” นอกจากจะเป็นผู้ที่มีแต่ความทุกข์และจะมีความทุกข์ทรมานเมื่อเห็นผู้อื่นได้ดี แต่จะมีความสุขเมื่อเห็นผู้ใดประสบเคราะห์ ผู้ที่มีบุคลิกดังกล่าวเป็นอันตรายต่อความบริสุทธิ์ของจริยธรรมของคนทั่วไป นี่คือทัศนคติโดยทั่วไปของศาสนายูดายเกี่ยวกับ “นัยน์ตาปีศาจ” ผู้ที่มีความเชื่อในคาบาลาห์หรือตำนานความเชื่อเรื่องลึกลับของยิวเชื่อว่าการใช้ด้ายแดงจะช่วยกันภัยจาก “นัยน์ตาปีศาจ” และกล่าวกันว่าการเห็นด้ายแดงตัดกับสีผิวก็ควรจะเป็นเครื่องเตือนเกี่ยวกับบทเรียนของเรเชล และสนับสนุนให้เราประพฤติตัวในวิถีทางที่จะนำความเปลี่ยนแปลงมาสู่ชีวิตในทางที่ถูกที่ควร อินเดีย “นัยน์ตาปีศาจ” ที่เรียกว่า “drishtidosham” (แปลตรงตัวว่า “ตาแช่ง”) หรือ “nazar” เป็นตาที่ถอดจาก “Aarti” กระบวนการถอดก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แล้วแต่ผู้ถูกถอด ถ้าเป็นการถอด “นัยน์ตาปีศาจ” ของมนุษย์ก็จะมีการทำพิธีไฟศักดิ์สิทธิ์บนถาดตามประเพณีฮินดู โดยการวนถาดหน้าผู้นั้นเพื่อดึงความชั่วร้ายที่เกิดขึ้นออกจากผู้นั้น บางครั้งผู้ถูกแก้มนต์ก็อาจจะต้องถ่มน้ำลายลงบนกองพริกบนถาด แล้วเอาไปโยนเข้ากองไฟ ถ้ามีควันขึ้นมามากผู้นั้นก็จะถูกเย้ยหยันและจะไม่มีใครจ้องด้วยนัยน์ตาปีศาจได้ แต่ถ้าไม่มีควัน ผู้นั้นก็จะปลอดจาก “นัยน์ตาปีศาจ” แต่ถ้าเป็นยานพาหนะก็จะใช้มะนาวแทนพริก โดยให้รถแล่นทับมะนาวจนแตกเละ แล้วเอามะนาวลูกใหม่แขวนไว้กับพริกเพื่อกัน “นัยน์ตาปีศาจ” ที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต การแขวนดังกล่าวอาจจะพบในร้านค้าหรือบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ที่มักจะแขวนกันตรงประตู เจ้าของร้านชาวอินเดียบางคนก็อาจจะเผากระดาษหนังสือพิมพ์แล้วโบกเวียนก่อนที่จะปิดร้านกลับบ้าน นอกจากตั้นก็อาจจะมีการใช้แป้งสีคุมคุมบนแก้คู่บ่าวสาวหรือเด็กก็เป็นอีกวิธีหนึ่งในการขจัดอำนาจของ “นัยน์ตาปีศาจ” ทารกหรือเด็กโดยทั่วไปจะถือว่ามีความบริสุทธิ์และจะดึงดูด “นัยน์ตาปีศาจ” แม่จึงมักแต้มจุดบนแก้มหรือหน้าผากของเด็กเพื่อให้เป็นตำหนิที่กันจาก “นัยน์ตาปีศาจ” หรืออาจจะผูกสายด้ายสีดำรอบเอวเด็กเพื่อจุดประสงค์เดียวกัน บางครั้งก็อาจจะแขวนห้อยหรือเครื่องรางบนสายคาดเอ็วด้วยก็ได้ ตามธรรมเนียมมุสลิมบางอย่างถ้าจะมีการเยินยอกัน ผู้ทำการเยินยอก็จะใช้คำว่า “ما شاء الله”(Masha'Allah) ที่แปลว่า “ถ้าเป็นสิ่งพระเจ้ามีพระสงค์” เพื่อกันจากอันตรายของ “นัยน์ตาปีศาจ” ซึ่งหมายความว่าสิ่งที่ดีหรือร้ายที่จะเกิดขึ้นก็ขึ้นอยู่กับพระประสงค์ของพระเจ้า ผู้พูดภาษาดารีในอัฟกานิสถานใช้วลี “Nam-e Khoda” ที่แปลว่า “ในนามของพระเจ้า” แทน “ما شاء الله” หรือ “Chashmi bad dur” ที่แปลว่า “ขอให้ “นัยน์ตาปีศาจ” ไปอยู่ไกลๆ” และในภาษาอูรดู หรือในภาษาทาจิคที่เพี้ยนไปเล็กน้อย ดูบทความหลักที่: Evil eye in Turkish Culture ในตุรกี เครื่องประดับ “นัยน์ตาปีศาจ” และ ของกระจุกกระจิกเป็นที่มีกันแพร่หลาย ประคำหลากสี, กำไล, สร้อยคอ, กำไลข้อเท้า และ เครื่องตกแต่งอื่นๆ ต่างก็ใช้สัญลักษณ์ “นัยน์ตาปีศาจ” ในการตกแต่งที่รวมทั้งเรือบิน เด็กในบังกลาเทศมักจะมีจุดดำบนหน้าผากเพื่อกันจากความชั่งร้ายของ “นัยน์ตาปีศาจ” เด็กหญิงที่มักจะได้คำชมว่าสวยมักจะมีจุดดำหลังใบหู เพื่อไม่ให้ใครเห็น อิหร่าน, อิรัก, ทาจิกิสถาน และ อัฟกานิสถานจะเผาต้นฮาร์มาล (Peganum harmala หรือเรียกว่าเอสฟานด์ หรือ เอสพันด์ด้วยถ่าน ที่เมื่อปะทุก็จะโชยควันหอมที่ใช้โบกเหนือศีรษะผู้ที่ต้องสงสัยว่าโดนมนต์ หรือโดนจ้องโดยคนแปลกหน้า จากนั้นก็จะท่องบทสวดมนต์โซโรอัสเตอร์ขจัด “Bla Band” บทสวดมนต์ดังกล่าวท่องโดยทั้งมุสลิมและผู้ถือศาสนาโซโรอัสเตอร์ในบริเวณที่มีการใช้เอสฟานด์ในการขจัดความชั่วร้าย ในอิหร่านบางครั้งก็จะมีการทำพิธีนี้ในภัตตาคาร ที่ลูกค้าอาจจะถูกจ้องโดยคนแปลกหน้า บางครั้งก็จะมีการใช้เอสฟานด์แห้งในบางบริเวณในตุรกี ในทิเบตและบริเวณใกล้เคียงลูกปัดซี (Dzi bead) ถือกันว่าเป็นเครื่องรางในการขจัดภัยจาก “นัยน์ตาปีศาจ” และเป็นเครื่องรางที่นำโชค ขึ้นอยู่กับลวดลายและจำนวนตา ลูกปัดซีโบราณเป็นลูกปัดที่มีราคาสูงที่สุดเท่าที่ทราบกันมา หินซีเริ่มปรากฏขึ้นราว 2000 ถึง 1000 ปีก่อนคริสต์ศักราชในทิเบตโบราณ กล่าวกันว่าลูกปัดหลายแสนลูกถูกนำกลับมาโดยนักรบทิเบตจากภูมิภาคบัคเทรียเหนือเทือกเขาฮินดูกูชหรือทาจิกิสถานโบราณระหว่างที่ไปทำการปล้นรบ หรือ ต่อมายึดครอง ความกลัวอำนาจของ “นัยน์ตาปีศาจ” เป็นเรื่องที่จริงจังในหมู่ชนทิเบต ซึ่งทำให้เกิดการสร้างเครื่องรางในการป้องกันภัยอันเกิดจากอำนาจของ “นัยน์ตาปีศาจ” ขึ้นที่เป็นรูปตาเช่นกัน ลูกปัดซีสร้างด้วยโมราตกแต่งด้วยเส้นและวงโดยใช้วิธีโบราณอันเป็นเอกลักษณ์ เช่นทำสีให้เข้มขึ้นโดยการใช้น้ำตาลพืช และ ทำให้ร้อนและลอกให้สีอ่อนลง และเส้นตัดสีขาวทำด้วยนาทรอนโบราณ หรือด่างชนิดอื่น บางส่วนก็ทิ้งเอาไว้โดยไม่ก็ใช้ไขมัน, ดินเหนียว, ขี้ผึ้ง หรือ สารประเภทดังกล่าว วิธีการทำในสมัยโบราณได้แต่เพียงสันนิษฐานกันเท่านั้น ลูกปัดซีมีด้วยกันสองหรือสามชนิด ชนิดหนึ่งมีเส้นของและ “ตา” และที่มีตาตามธรรมชาติของหิน ลูกปัดซีมักจะมีทรงกลมรีแต่ก็มีบ้างที่เป็นรูปเหรียญ ในเม็กซิโก และ อเมริกากลาง ทารกจะมีอัตราเสี่ยงต่ออันตรายจาก “นัยน์ตาปีศาจ” สูงและมักจะให้ใส่กำไลเครื่องรางเพื่อพิทักษ์ โดยเฉพาะที่มีจุดเหมือนตา วิธีป้องกันอีกวิธีหนึ่งคือให้ผู้ชื่นชมกับเด็กได้จับต้องตัวเด็ก วิธีรักษาอีกวิธีหนึ่งในเม็กซิโกก็โดย “curandero” (พ่อมด) จะลูบตัวผู้ต้องมนต์ด้วยฟองไข่ไก่ดิบเพื่อกำจัดอำนาจของผู้ที่มีอำนาจในการใช้ “นัยน์ตาปีศาจ” แล้วก็เอาไข่ไก่ไปทุบใส่ชามแก้วเพื่อตรวจสอบรูปร่าง รูปทรงไข่แดงเชื่อกันว่าสามารถบอกได้ว่าผู้มีเวทมนตร์เป็นชายหรือหญิง ตามธรรมเนียมฮิสปานิคของทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา และบางส่วนของเม็กซิโก เมื่อลูบตัวเสร็จ ผู้ต้องมนต์ก็จะตอกไข่ในชามน้ำ แล้วคลุมด้วยฟาง เอาไปวางไว้ใต้หัวของคนไข้ขณะที่ยังคงหลับ หรืออาจจะให้ไข่กลับโดยการทำเป็นเครื่องหมายกางเขน จากนั้นก็จะทำการตรวจตราใข่ในชามเพื่อจะดูว่าสำเร็จไปได้แค่ไหนเท่าใด ในบางส่วนของอเมริกาใต้ การทำ “Ojear” หรือที่แปลว่า “ก่ออันตรายโดยนัยน์ตาปีศาจ” ให้กับเด็ก, สัตว์โดยการจ้อง การกระทำเช่นนี้อาจจะก่อให้เกิดความเจ็บป่วย หรือการใช้งานไม่ได้ถ้าเป็นสิ่งของหรือยานยนตร์ นอกจากนั้นแล้วก็ยังเชื่อกันว่า “การจ้อง” เป็นการกระทำโดยไม่จงใจ ฉะนั้นการป้องกันก็อาจจะทำได้โดยการผูกริบบอนสีแดงกับสัตว์, เด็ก หรือสิ่งของ เพื่อหันเหความสนใจให้ไปจ้องริบบอนแทน ในบราซิลสิ่งที่คล้ายคลึงกับ “นัยน์ตาปีศาจ” คือ “olho gordo” (แปลง่ายๆ ว่า “ตาโต”) เชื่อกันว่าเมื่อถ้าผู้ใดชมสิ่งของที่เป็นของผู้อื่น เจ้าของก็ควรจะระมัดระวังว่าผู้ชมคือใคร ถ้าการชมเป็นไปด้วยความประสงค์ดีก็จะไม่มีอะไรเกิดขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามสิ่งของนั้นก็อาจจะตกไปเป็นของผู้นั้นหรือสูญหายไป ถ้าสิ่งของได้รับความเสียหายในอนาคตก็เชื่อกันว่าเกิดจากการกระทำของผู้ที่มีความอิจฉาผู้กล่าวชมสิ่งของนั้น ในปี ค.ศ. 1946 นักมายากลเฮนรี กามาชีตีพิมพ์หนังสือชื่อ “Terrors of the Evil Eye Exposed!” (เผยความกลัว “นัยน์ตาปีศาจ”!) ที่บอกวิธีป้องกันตนเองจาก “นัยน์ตาปีศาจ” งานเขียนของกามาชีเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับความเชื่อเรื่อง “นัยน์ตาปีศาจ” แก่นักปฏิบัติวูดูแอฟริกันอเมริกันทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา นัยนาของโฮรัส - โฮรัสเป็นเทพแห่งท้องฟ้าของอียิปต์โบราณที่มาในรูปของเหยี่ยว ตาขวาเป็นสัญลักษณ์ของตาเหยี่ยวและเครื่องหมายรอบตา ที่บางครั้งก็จะรวมทั้งรอยน้ำตาใต้ตา ตาขวาของโฮรัสตามความเชื่อของวัฒนธรรมอียิปต์โบราณเชื่อกันว่ามีอำนาจในการป้องกันอันตรายจาก “นัยน์ตาปีศาจ” ในอียิปต์สมัยใหม่ก็จะใช้เครื่องรางเช่น “มือฮัมซา” ในการป้องกัน Rivka Ulmer (1994). KTAV Publishing House, Inc., ed. The evil eye in the Bible and in rabbinic literature. p. 176. ISBN 0881254630, 9780881254631 Check |isbn= value (help).  Frederick Thomas Elworthy. Forgotten Books, ed. The Evil Eye: An Account of this Ancient and Widespread Superstition. p. 5. ISBN 1605065579, 9781605065571 Check |isbn= value (help).  William W. Story (2003). Kessinger Publishing, ed. Castle St. Angelo and the Evil Eye. pp. 149–152.  Dundes, Edited by Alan (1992), Evil Eye : Folklore Casebook, Madison, Wis.: University of Wisconsin Press, pp. 257–259, ISBN 0299133346  [Sahih Muslim, Book 26, Number 5427]USC-MSA Compendium of Muslim Texts Du'a - What to say when in fear of afflicting something or someone with one?s eye Cora Lynn Daniels, et al., eds, Encyclopædia of Superstitions, Folklore, and the Occult Sciences of the World (Volume III), p. 1273, Univ. Press of the Pacific, Honolulu, ISBN 1-4102-0916-4 Dracula, Bram Stoker's novel 1897 edition online. page ? Merriam-Webster. Merriam-Webster's Encyclopedia of World Religions. 2000, page 69 Chapters of the Fathers, Translation & Commentary by Samson Raphael Hirsch, Feldheim Publishers, ISBN 0-87306-182-9 pg.32 "Aspand - Espand - Esfand - Esphand Against the Evil Eye in Zoroastrian Magic". สืบค้นเมื่อ 2008-01-19.  http://anthro.palomar.edu/medical/med_1.htm Medical Anthropology: Explanations of Illness http://www.revistatabularasa.org/numero_dos/florez.pdf Franz Flórez: El Mal de Ojo de la Etnografía Clásica y La Limpia Posmoderna. Borthwick, E. Kerr (2001) "Socrates, Socratics, and the Word ΒΛΕΠΕΔΑΙΜΩΝ" The Classical Quarterly New Series, 51(1): pp. 297–301 Dickie, Mathew W. (January 1991) "Heliodorus and Plutarch on the Evil Eye" Classical Philology 86(1): pp. 17–29 Dundes, Alan (editor) (1992) The Evil Eye: A Casebook University of Wisconsin Press, Madison, Wisconsin, ISBN 0-299-13334-6; originally published in 1981 by Garland Publishing, New York Elworthy, Frederick Thomas (1895) The Evil Eye. An Account of this Ancient & Widespread Superstition John Murray, London, OCLC 2079005; reprinted in 2004 as: The Evil Eye: The Classic Account of an Ancient Superstition Dover Publications, Mineola, New York, ISBN 0-486-43437-0 (online text) Gamache, Henri (1946) Terrors of the Evil Eye Exposed Raymond Publishing, New York, OCLC 9989883; reprinted in 1969 as Protection Against Evil Dorene, Dallas, Texas, OCLC 39132235 Gifford, Edward S. (1958) The Evil Eye: Studies in the Folklore of Vision Macmillan, New York, OCLC 527256 Jones, Louis C. (1951) "The Evil Eye among European-Americans" Western Folklore 10(1): pp. 11–25 Limberis, Vasiliki (April 1991) "The Eyes Infected by Evil: Basil of Caesarea's Homily" The Harvard Theological Review 84(2): pp. 163–184 Lykiardopoulos, Amica (1981) "The Evil Eye: Towards an Exhaustive Study" Folklore 92(2): pp. 221-230 Maloney, Clarence (editor) (1976) The Evil Eye Columbia University Press, New York, ISBN 0-231-04006-7; outgrowth of a symposium on the evil eye belief held at the 1972 meeting of the American Anthropological Association Meerloo, Joost Abraham Maurits (1971) Intuition and the Evil Eye: The Natural History of a Superstition Servire, Wassenaar, Netherlands, OCLC 415660 Slone, Kathleen Warner and Dickie, M. W. (1993) "A Knidian Phallic Vase from Corinth" Hesperia 62(4): pp. 483–505 Ulmer, Rivka (1994) The Evil Eye in the Bible and in Rabbinic Literature KTAV Publishing House, Hoboken, New Jersey, ISBN 0-88125-463-0 วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นัยน์ตาปีศาจ Traditional Evil Eye Bead Making in Anatolia. A documentary site about Blue Glass Evil Eyes. The Evil Eye by Catherine Yronwode at luckymojo.com A Discourse on the Worship of Priapus by Richard Payne Knight (1786), mentions phallic charms against the Evil Eye in ancient Rome. The Evil Eye at Fortean Times The Evil Eye by Frederick Thomas Elsworthy Evil Eye by Hakim Bey Aspand: A Zoroastrian Rite Surviving in Muslim Nations by Catherine Yronwode at luckymojo.com What is an "Ayin Hara" (evil eye)? บทความนี้ใช้ระบบคริสต์ศักราช เพราะอ้างอิงคริสต์ศักราชและคริสต์ศตวรรษ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อเราเริ่ม ฝูงชนรอบประตูโรงเตี๊ยมซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นก็รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่พอควร และต่างคนก็ทำสัญญาณกางเขน และชี้นิ้วมายังข้าพเจ้า ข้าพเจ้าถามเพื่อนผู้โดยสารให้ช่วยอธิบายอย่างขลุกขลักว่าหมายความว่าอย่างไร ซึ่งก็ไม่ได้ตอบทันที แต่เมื่อทราบว่าข้าพเจ้าเป็นคนอังกฤษ จึงได้อธิบายว่าเป็นการแสดงสัญญาณเพื่อกันจากนัยน์ตาปีศาจ “นัยน์ตาปีศาจนาซาร์” ที่ใช้ในการเป็นเครื่องรางในการป้องกันจากนัยน์ตาปีศาจที่ขายกันแพร่หลายในตุรกี อิลยา เรพิน, "มุซฮิคกับนัยน์ตาปีศาจ" (ค.ศ. 1877) ต้นไม้ที่เต็มไปด้วยนัยน์ตาปีศาจในคาพะโดเคียในตุรกี มือฮัมซา คือ ยันต์ที่ใช้ในการป้องกันนัยน์ตาปีศาจ เรือบินตุรกีที่มี “Nazar boncuğu” หรือ “นัยน์ตาปีศาจ” ลูกปัดซีของทิเบต นัยนาของโฮรัส เขตมีนบุรี ========== เขตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่ เขตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ่ เขตมีนบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตคลองสามวา มีคลองพระยาสุเรนทร์ 1 (กีบหมู) ลำรางคูคต ซอยหทัยราษฎร์ 29 (โชคอนันต์) ถนนหทัยราษฎร์ ลำรางโต๊ะสุข คลองเจ๊ก ลำรางสามวา คลองสามวา ซอยนิมิตใหม่ 5 (เหมือนสวาท) ถนนนิมิตใหม่ ซอยนิมิตใหม่ 8 (วีแสงชัย) คลองลำบึงไผ่ และคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตหนองจอก มีลำรางข้างซอยราษฎร์อุทิศ 70 คลองแยกคลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำหินฝั่งใต้ คลองลำต้นไทร และคลองลำนกแขวกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตลาดกระบัง มีคลองบึงใหญ่ ลำรางตาทรัพย์ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า คลองตาเสือ ลำรางศาลเจ้า ลำรางคอวัง คลองสองต้นนุ่น และคลองลำนายโสเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตสะพานสูงและเขตคันนายาว มีคลองลาดบัวขาว คลองแสนแสบ และคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต คำว่ามีนบุรีแปลว่า "เมืองปลา" เป็นนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้กับเมืองใหม่ที่ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2445 โดยรวมอำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) เข้าไว้ในเขตการปกครองของเมือง เหตุที่ใช้ชื่อว่าเมืองปลาเนื่องจากตำบลแสนแสบเป็นบริเวณที่มีบ่อปลามาก และเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อเมืองธัญญบุรีที่แปลว่า "เมืองข้าว" เขตมีนบุรีในอดีตเป็นท้องที่หนึ่งของ อำเภอคลองสามวา ซึ่งเป็นอำเภอหนึ่งทางทิศตะวันออกของมณฑลกรุงเทพ ต่อมาในปี พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้รวมท้องที่อำเภอคลองสามวากับอำเภอข้างเคียงอีก 3 อำเภอตั้งขึ้นเป็นเมืองใหม่และพระราชทานนามว่า "เมืองมีนบุรี" อำเภอคลองสามวาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอเมือง เนื่องจากเป็นที่ตั้งของเมือง (จังหวัด) แห่งนี้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้ตั้งสุขาภิบาลมีนบุรีขึ้นในปี พ.ศ. 2498 ประกาศตั้งตำบลทรายกองดินใต้ แยกจากตำบลทรายกองดินในปี พ.ศ. 2505 และขยายเขตสุขาภิบาลมีนบุรีให้ครอบคลุมทั้งอำเภอด้วย ในปีถัดมา อำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี หลังจากการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานครเมื่อปี พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง และในที่สุดเมื่อปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรีแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง (khwaeng) โดยใช้ถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกและคลองแสนแสบฝั่งเหนือเป็นเส้นแบ่ง ได้แก่ ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีปลาตะเพียนสีทองอยู่ตรงกลาง พื้นหลังด้านล่างเป็นพื้นน้ำสีฟ้า มีรวงข้าวสีเขียว สองข้างล้อมรอบด้วยคำว่า สำนักงานเขตมีนบุรี เป็นภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยสื่อความหมายถึงความเป็นเมืองปลา ตามความหมายของชื่อที่ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเมืองมีนบุรีในอดีต และปลาที่ขึ้นชื่อคือปลาตะเพียน ทางสายหลักในพื้นที่เขต ได้แก่ ถนนรามอินทรา เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตคันนายาว เขตบึงกุ่ม และเขตบางเขน โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนกาญจนาภิเษกและทางพิเศษฉลองรัชได้ ถนนสีหบุรานุกิจ เชื่อมถนนรามอินทราเข้ากับถนนร่มเกล้า ถนนเสรีไทย เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตคันนายาว เขตบึงกุ่ม และเขตบางกะปิ โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนกาญจนาภิเษกและถนนลาดพร้าวได้ (โดยถนนลาดพร้าวเชื่อมในสายทางเดียวกัน) ถนนรามคำแหง เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตสะพานสูง เขตบางกะปิ และเขตสวนหลวง โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนกาญจนาภิเษกและมหาวิทยาลัยรามคำแหงได้ ถนนร่มเกล้า เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตลาดกระบัง โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนมอเตอร์เวย์ สถานีลาดกระบัง และท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิได้ ถนนสุวินทวงศ์ เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตหนองจอก และอำเภอบางน้ำเปรี้ยว อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ถนนนิมิตใหม่ เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตคลองสามวา และอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนลำลูกกาได้ ถนนหทัยราษฎร์ เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตคลองสามวา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี และเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร โดยมีถนนสายไหมต่อออกไปในแนวเดียวกันเมื่อเข้าพื้นที่เขตสายไหม บริเวณรอยต่อเขตสายไหมกับอำเภอลำลูกกา ถนนประชาร่วมใจ เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรี เขตคลองสามวา และเขตหนองจอก โดยมีถนนมิตรไมตรีต่อออกไปในแนวเดียวกันเมื่อเข้าพื้นที่เขตหนองจอก ถนนราษฎร์อุทิศ เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตหนองจอก โดยมีถนนเลียบวารีต่อออกไปในแนวเดียวกันเมื่อเข้าพื้นที่เขตหนองจอก ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ถนนมีนพัฒนา เชื่อมถนนเสรีไทยเข้ากับถนนรามคำแหง ถนนหม่อมเจ้าสง่างาม สุประดิษฐ์ (บึงกระเทียม) เชื่อมถนนรามอินทราเข้ากับถนนเสรีไทย ถนนพระยาสุเรนทร์ (รามอินทรา 109) เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตคลองสามวา ถนนสามวา เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตคลองสามวา ถนนราษฎร์ร่วมใจ เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตคลองสามวา ถนนคุ้มเกล้า (วัดทองสัมฤทธิ์) เชื่อมระหว่างเขตมีนบุรีเข้ากับเขตลาดกระบัง โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนเจ้าคุณทหารและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังได้ ถนนบึงขวาง เชื่อมถนนร่มเกล้าเข้ากับถนนสุวินทวงศ์ ซอยรามอินทรา 117 (เจริญพัฒนา) เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตคลองสามวา โดยมีถนนเจริญพัฒนาต่อออกไปในแนวเดียวกันเมื่อเข้าพื้นที่เขตคลองสามวา ซอยร่มเกล้า 24 (การเคหะร่มเกล้า) เชื่อมเขตมีนบุรีเข้ากับเขตลาดกระบัง โดยมีถนนเคหะร่มเกล้าต่อออกไปในแนวเดียวกันเมื่อเข้าพื้นที่เขตลาดกระบัง โดยเส้นทางนี้สามารถไปยังถนนราษฏร์พัฒนาในพื้นที่เขตสะพานสูงได้ ซอยสุวินทวงศ์ 7 (บ้านเกาะ) และ ซอยราษฎร์อุทิศ 42 เชื่อมถนนสุวินทวงศ์เข้ากับถนนราษฎร์อุทิศ ซอยสุวินทวงศ์ 13 (ชุมชนทองสงวน) เชื่อมถนนสุวินทวงศ์เข้ากับถนนราษฎร์อุทิศ การคมนาคมอื่น ๆ รถประจำทาง รถตู้ รถสองแถว เรือโดยสารคลองแสนแสบ ทางแยกในพื้นที่ โครงการคมนาคมในอนาคต รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเมืองมีนบุรี (เรือนไม้สัก ศาลากลางจังหวัดมีนบุรีเดิม) พิพิธภัณฑ์เรือจิ๋ว และอู่เรือจิ๋ว ตลาดเก่ามีนบุรี ตลาดนัดจตุจักร 2 มีนบุรี (ตลาดสุขาภิบาลเดิม) ตลาดน้ำขวัญ-เรียม สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี พระพุทธรังสีสวัสดิรังสรรค์ พระพุทธรูปประจำเมืองมีนบุรี ประดิษฐานอยู่ในซุ้มพระสวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 วัดบางเพ็งใต้ วัดบำเพ็ญเหนือ วัดแสนสุข วัดทองสัมฤทธิ์ วัดใหม่ลำนกแขวก วัดศรีกุเรชา ศาลเจ้าเจียวตี่เหล่าเอี๊ย มัสยิดกมาลุลอิสลาม (สุเหร่าทรายกองดิน) มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต วิทยาเขตร่มเกล้า โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานคร โรงเรียนมีนประสาทวิทยา โรงเรียนมีนบุรีศึกษา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เขตมีนบุรี โรงเรียนบึงขวาง(มหาดไทยอุปถัมป์) ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา นิคมอุตสาหกรรมบางชัน (ส่วนเขตมีนบุรี) ศาลจังหวัดมีนบุรี ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. สถิติจำนวนประชากรและบ้านในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามรายแขวงและเขต ณ เดือน ธันวาคม 2550. สืบค้น 20 กันยายน 2552. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย,กองปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร. สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2560. สำนักงานเขตมีนบุรี. ความเป็นมาของเขตมีนบุรี. สืบค้น 20 กันยายน 2552. "แจ้งความกระทรวงนครบาล". ราชกิจจานุเบกษา 19 (23): 464. 7 กันยายน 2445.  "พระบรมราชโองการ ประกาศ ยุบรวมท้องที่บางมณฑลและบางจังหวัด". ราชกิจจานุเบกษา 48: 576–578. 21 กุมภาพันธ์ 2474.  "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลมีนบุรี อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร". ราชกิจจานุเบกษา 72 (74 ง ฉบับพิเศษ): 1–2. 17 กันยายน 2498.  Text "http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/074/1.PDF" ignored (help) "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลภายในท้องที่อำเภอมีนบุรี จังหวัดพระนคร". ราชกิจจานุเบกษา 79 (46 ง): 1239–1241. 15 พฤษภาคม 2505.  "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลมีนบุรี จังหวัดพระนคร". ราชกิจจานุเบกษา 80 (38 ง): 1199–1200. 23 เมษายน 2506.  "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี และตั้งเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร". ราชกิจจานุเบกษา 114 (พิเศษ 108 ง): 25–30. 18 พฤศจิกายน 2540.  สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556. http://www.bangkok.go.th/minburi/page/sub/3042/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5 เว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี เว็บไซต์กรุงเทพมหานคร: แหล่งท่องเที่ยวในเขตมีนบุรี ไร่หญ้า บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ข้อมูลทั่วไป เมืองปลา หญ้าดัง จังหวัดเก่า อักษรไทย เขตมีนบุรี อักษรโรมัน Khet Min Buri รหัสทางภูมิศาสตร์ 1010 รหัสไปรษณีย์ 10510 ต้นไม้ประจำเขต พิกุล ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 63.645 ตร.กม. ประชากร 141,214 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 2,218.77 คน/ตร.กม. สำนักงานเขต ที่ตั้ง เลขที่ 333 ถนนสีหบุรานุกิจ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510 พิกัด 13°48′50″N 100°44′53″E / 13.81389°N 100.74806°E / 13.81389; 100.74806 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2540 7160 ต่อ 6655 หมายเลขโทรสาร 0 2540 7267 เว็บไซต์ เว็บไซต์สำนักงานเขตมีนบุรี ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่ (ตร.กม.) จำนวนประชากร (พฤษภาคม 2560) จำนวนบ้าน (พฤษภาคม 2560) ความหนาแน่นประชากร (พฤษภาคม 2560) มีนบุรี Min Buri 28.459 96,999 43,903 3,408.37 แสนแสบ Saen Saep 35.186 44,450 13,576 1,263.28 ทั้งหมด 63.645 141,449 57,479 2,222.46 สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร เขตมีนบุรี ปี (พ.ศ.) ประชากร การเพิ่มและการลด 2535 108,833 ไม่ทราบ 2536 116,250 +7,417 2537 124,273 +8,023 2538 132,957 +8,684 2539 148,600 +15,643 2540 89,184 แบ่งเขต 2541 92,480 +3,296 2542 98,303 +5,823 2543 102,375 +4,072 2544 105,877 +3,502 2545 109,241 +3,364 2546 112,734 +3,493 2547 115,212 +2,478 2548 118,019 +2,807 2549 122,825 +4,806 2550 127,727 +4,902 2551 134,035 +6,308 2552 133,149 -886 2553 135,032 +1,883 2554 136,236 +1,204 2555 137,295 +1,059 2556 138,661 +1,366 2557 139,771 +1,110 2558 140,702 +931 2559 141,214 +512 แยกเมืองมีน แยกสีหบุรานุกิจ แยกรามคำแหง-ร่มเกล้า แยกรามคำแหง-สุวินทวงศ์ แยกร่มเกล้า-สุวินทวงศ์ แยกราษฎร์อุทิศ แยกบางชัน แยกลาดบัวขาว แยกเคหะร่มเกล้า แยกนิมิตใหม่ ด พ ก เขตในกรุงเทพมหานคร ฝั่งธนบุรี คลองสาน • จอมทอง • ตลิ่งชัน • ทวีวัฒนา • ทุ่งครุ • ธนบุรี • บางกอกน้อย • บางกอกใหญ่ • บางขุนเทียน • บางแค • บางบอน • บางพลัด • ภาษีเจริญ • ราษฎร์บูรณะ • หนองแขม ฝั่งพระนคร คลองเตย • คลองสามวา • คันนายาว • จตุจักร • ดอนเมือง • ดินแดง • ดุสิต • บางกะปิ • บางเขน • บางคอแหลม • บางซื่อ • บางนา • บางรัก • บึงกุ่ม • ปทุมวัน • ประเวศ • ป้อมปราบศัตรูพ่าย • พญาไท • พระโขนง • พระนคร • มีนบุรี • ยานนาวา • ราชเทวี • ลาดกระบัง • ลาดพร้าว • วังทองหลาง • วัฒนา • สวนหลวง • สะพานสูง • สัมพันธวงศ์ • สาทร • สายไหม • หนองจอก • หลักสี่ • ห้วยขวาง ตราสัญลักษณ์ประจำเขตมีนบุรี ยุคเอะโดะ ========= ยุคเอะโดะ (ญี่ปุ่น: 江戸時代 Edo-jidai ?) หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะกุงะวะ รัฐบาลเอะโดะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์ และพระสงฆ์จนหมดสิ้น และปกครองเกษตรกรไปทีละเล็กละน้อย เมื่อเกษตรกรอันเป็นฐานอำนาจของรัฐบาลเอะโดะยากจนลงจนเดือดร้อน การปกครองของตระกูลโทะกุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19 ยุคนี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18 เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระขุ (元禄文化 Genroku-bunka) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคาบุขิและหัตถกรรมต่าง ๆ มีศิลปินกำเนิดจากราษฎรสามัญมากมาย เช่น นักเขียน อย่าง อิฮารา ไชคาขุ (井原西鶴 Ihara Saikaku) นักกลอนไฮขุ อย่าง มัทสึโอะ บาโช (松尾芭蕉 Matsuo Bashou) นักแต่งบทละครหุ่น ละครคาบิขุ อย่าง ชิคามัทสึ มงซาเอมง (近松門左衛門 Chikamatsu Monzaemon) จนเมื่อศตวรรษที่ 19 ศูนย์กลางของวัฒนธรรมได้ย้ายไปอยู่เอะโดะ เป็นยุคของวัฒนธรรม คะเซ (化政文化 Kasei-bunka) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชนชาวเมือง อันได้แก่ นวนิยาย ละครคาบุขิ ภาพอุคิโยะ บุงจิง-งะ เป็นต้น การศึกษาและวิชาการก็เจริญรุ่งเรือง ชนชั้นนักรบเล่าเรียนปรัชญาของขงจื๊อและหลักคำสอน จูจื่อ (朱子学 Shushi-gaku) ซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานที่ค้ำจุนการปกครองของรัฐบาลเอะโดะ การศึกษาเกี่ยวกับญี่ปุ่นและดัตช์ (ฮอลันดา)(蘭学 Ran-gaku) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มีการเปิดโรงเรียนตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อลูกหลานของชนชั้นนักรบ ราษฎรสามัญเองก็นิยมส่งลูกหลานเรียนหนังสือเช่นกัน ยุคเอะโดะ (ญี่ปุ่น: 江戸時代 Edo-jidai ?) หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน ค.ศ. 1603 และหลังจากนั้นอีก 260 ปี การปกครองทั้งหลายก็ตกอยู่ในอำนาจของตระกูลโทะกุงะวะ รัฐบาลเอะโดะได้ลิดรอนอำนาจจากจักรพรรดิ เชื้อพระวงศ์ และพระสงฆ์จนหมดสิ้น และปกครองเกษตรกรไปทีละเล็กละน้อย เมื่อเกษตรกรอันเป็นฐานอำนาจของรัฐบาลเอะโดะยากจนลงจนเดือดร้อน การปกครองของตระกูลโทะกุงะวะก็เริ่มสั่นคลอนลงตั้งแต่เข้าศตวรรษที่ 19 ยุคนี้เป็นยุคที่วัฒนธรรมของราษฎรสามัญเจริญจนถึงที่สุด ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 จนถึงต้นศตวรรษที่ 18 เป็นยุคของวัฒนธรรมเก็นโระขุ (元禄文化 Genroku-bunka) ซึ่งเป็นของนักรบผสมกับราษฎรสามัญ มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองใหญ่ ๆ อย่างเกียวโต โอซาก้า เอกลักษณ์คือละครหุ่น ละครคาบุขิและหัตถกรรมต่าง ๆ มีศิลปินกำเนิดจากราษฎรสามัญมากมาย เช่น นักเขียน อย่าง อิฮารา ไชคาขุ (井原西鶴 Ihara Saikaku) นักกลอนไฮขุ อย่าง มัทสึโอะ บาโช (松尾芭蕉 Matsuo Bashou) นักแต่งบทละครหุ่น ละครคาบิขุ อย่าง ชิคามัทสึ มงซาเอมง (近松門左衛門 Chikamatsu Monzaemon) จนเมื่อศตวรรษที่ 19 ศูนย์กลางของวัฒนธรรมได้ย้ายไปอยู่เอะโดะ เป็นยุคของวัฒนธรรม คะเซ (化政文化 Kasei-bunka) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของชนชาวเมือง อันได้แก่ นวนิยาย ละครคาบุขิ ภาพอุคิโยะ บุงจิง-งะ เป็นต้น การศึกษาและวิชาการก็เจริญรุ่งเรือง ชนชั้นนักรบเล่าเรียนปรัชญาของขงจื๊อและหลักคำสอน จูจื่อ (朱子学 Shushi-gaku) ซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานที่ค้ำจุนการปกครองของรัฐบาลเอะโดะ การศึกษาเกี่ยวกับญี่ปุ่นและดัตช์ (ฮอลันดา)(蘭学 Ran-gaku) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา มีการเปิดโรงเรียนตามหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อลูกหลานของชนชั้นนักรบ ราษฎรสามัญเองก็นิยมส่งลูกหลานเรียนหนังสือเช่นกัน ในค.ศ. 1600 ยุทธการเซะกิงะฮะระ (ญี่ปุ่น: 関ヶ原の戦い Sekigahara-no-tatakai ?) ทำให้โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ไดเมียวผู้มีอำนาจหลังจากการอสัญกรรมของไทโคโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ (ญี่ปุ่น: 豊臣秀吉 Toyotomi Hideyoshi ?) กลายเป็นผู้ปกครองญี่ปุ่นโดยเบ็ดเสร็จปราศจากไดเมียวที่จะท้าทายอำนาจ และอิเอะยะซุยังสามารถอ้างการสืบเชื้อสายจากตระกูลมินะโมะโตะโบราณได้ จึงได้รับการแต่งตั้งจากราชสำนักเกียวโตให้เป็นเซอิไทโชกุน (ญี่ปุ่น: 征夷大将軍 Seii Taishōgun ?) ในค.ศ. 1603 เป็นจุดเริ่มต้นของรัฐบาลเอะโดะ หรือ เอะโดะบะกุฟุ (ญี่ปุ่น: 江戸幕府 Edo bakufu ?) ที่ปกครองโดยตระกูลโทะกุงะวะ เป็นระยะเวลาประมาณสองร้อยห้าสิบปี ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่สิบเจ็ด ชาวฮอลันดาและชาวอังกฤษได้เข้ามาติดต่อค้าขายที่เมืองนางาซากิ ซึ่งโชกุนอิเอะยะซุก็ได้ให้การต้อนรับอย่างดี ด้วยเหตุที่ชาวฮอลันดาและชาวอังกฤษเข้ามาทำการค้าขายเพียงอย่างเดียวไม่เผยแผ่ศาสนา ในค.ศ. 1604 โชกุนอิเอะยะซุมีคำสั่งให้วิลเลียม อดัมส์ (William Adams) ต่อเรือแบบตะวันตกให้แก่ญี่ปุ่นครั้งแรก และอนุญาตให้ชนชั้นพ่อค้าล่องเรือออกไปค้าขายยังอาณาจักรต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ เรียกว่า เรือตราแดง หรือ ชูอินเซน (ญี่ปุ่น: 朱印船 Shuinsen ?) ทำให้พ่อค้าชาวญี่ปุ่นเป็นคู่แข่งรายสำคัญของชาวฮอลันดาในภูมิภาค และในค.ศ. 1609 โอโงโชอิเอะยะซุได้ออกประกาศอนุญาตให้บริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์เข้ามาตั้งสถานีการค้าที่เมืองฮิระโดะ (ญี่ปุ่น: 平戸 Hirado ?) ใกล้กับเมืองนางาซากิ และในค.ศ. 1613 ไดเมียวดะเตะ มะซะมุเนะ (ญี่ปุ่น: 伊達政宗 Date Masamune ?) ได้ส่งฮาเซคุระ สึเนนากะ (ญี่ปุ่น: 支倉常長 Hasekura Tsunenaga ?) ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติต่างๆในทวีปยุโรป เรียกว่า คณะทูตปีเคโจ (ญี่ปุ่น: 慶長使節 Keichō shisetsu ?) ในค.ศ. 1605 โชกุนอิเอะยะซุได้สละตำแหน่งโชกุนให้แก่บุตรชาย คือ โทะกุงะวะ ฮิเดะตะดะ (ญี่ปุ่น: 徳川秀忠 Tokugawa Hidetada ?) แต่อำนาจการปกครองยังคงอยู่ที่อิเอะยะซุซึ่งดำรงตำแหน่งโอโงโช (ญี่ปุ่น: 大御所 ?) หรือโชกุนผู้สละตำแหน่ง โอโงโชอิเอะยะซุถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1616 เมื่อโชกุนฮิเดะตะดะขึ้นมามีอำนาจ ได้ดำเนินการปราบปรามชาวคริสเตียนอย่างรุนแรง ในค.ศ. 1622 ได้ทำการสังหารชาวคริสเตียนจำนวนห้าสิบคนที่เมืองนางาซากิ (Great Martyrdom of Nagasaki) เรียกว่า การปราบปรามชาวคริสเตียนปีเง็นนะ (ญี่ปุ่น: 元和の大殉教 Genna-no-daijungyō ?) ในค.ศ. 1615 โชกุนฮิเดะตะดะได้ออกกฎหมายซะมุไรหรือบุเกะชุฮัตโตะ (ญี่ปุ่น: 武家諸法度 ฺBuke shuhatto ?) ออกมาเป็นฉบับแรกของสมัยเอะโดะ ในค.ศ. 1623 โชกุนฮิเดะตะดะได้สละตำแหน่งให้แก่บุตรชายคือโชกุนโทะกุงะวะ อิเอะมิสึ (ญี่ปุ่น: 徳川家光 Tokugawa Iemitsu ?) ลงมาดำรงตำแหน่งเป็นโอโงโช การปราบปรามชาวคริสต์ระลอกใหญ่เกิดขึ้นอีกครั้งในค.ศ. 1629 ที่เมืองนางาซากิ โดยทางบะกุฟุได้บังคับให้ชาวเมืองกระทำการฟุมิเอะ (ญี่ปุ่น: 踏み絵 fumi-e ?) คือการเหยียบย่ำลงบนรูปของพระเยซูเพื่อพิสูจน์ว่าตนไม่ได้เป็นคริสเตียน โอโงโชฮิเดะตะดะถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1632 ทำให้โชกุนอิเอะมิสึมีอำนาจเต็มในการปกครองญี่ปุ่น โชกุนอิเอะมิสึเป็นโชกุนคนแรกที่เติบโตมาอย่างนักปราชญ์และไม่เคยผ่านประสบการณ์สงครามมาก่อน ในค.ศ. 1635 โชกุนอิเอะมิสึได้ออกกฎหมายซันคิง-โคไต (ญี่ปุ่น: 参勤交代 ฺSankin-kōtai ?) บังคับให้ไดเมียวของทุกแคว้นต้องพำนักอยู่ในเมืองเอะโดะหนึ่งปีสลับกับอยู่ในแคว้นของตนอีกหนึ่งปี เป็นการลดทอนอำนาจของไดเมียวไม่ให้มีการซ่องสุมอำนาจหรือกำลังทหารในแคว้นของตนได้ การกดขี่ชาวคริสเตียนอย่างหนักและภาวะอดอยากทำให้ชาวคริสเตียนบนแหลมชิมะบะระและเกาะอะมะกุสะ อันเป็นส่วนหนึ่งของเกาะคิวชู ได้ก่อกบฏขึ้นในค.ศ. 1637 เรียกว่า กบฏชิมะบะระ (ญี่ปุ่น: 島原の乱 Shimabara-no-ran ?) ทัพของบะกุฟุใช้เวลาถึงหนึ่งปีจนกระทั่งเข้ายึดปราสาทฮะระอันเป็นฐานที่มั่นของกบฏได้ในค.ศ. 1638 โชกุนอิเอะมิสึ ได้รับอิทธิพลจากที่ปรึกษาที่เป็นปราชญ์ขงจื้อ โดยเฉพาะฮะยะชิ ระซัน (ญี่ปุ่น: 林羅山 Hayashi Razan ?) ให้ดำเนินนโยบายการปิดประเทศ หรือ ไคคิง (ญี่ปุ่น: 海禁 Kaikin ?) ซึ่งต่อมาภายหลังเรียกว่า ซะโกะกุ (ญี่ปุ่น: 鎖国 Sakoku ?) โดยการเลิกการค้าขายของเรือตราแดง เลิกการค้ากับชาวโปรตุเกส อนุญาตให้มีการค้าขายกับชาวจีนและฮอลันดาที่เมืองนางาซากิเท่านั้น และย้ายสถานีการค้าของฮอลันดาออกไปยังเกาะเดะจิมะ (ญี่ปุ่น: 出島 Dejima ?) รวมทั้งการห้ามชาวญี่ปุ่นออกนอกประเทศระวางโทษถึงประหาร นโยบายปิดประเทศของโชกุนอิเอะมิสึส่งผลต่อการต่างประเทศของญี่ปุ่นไปเป็นเวลาอีกสองร้อยปี โดยที่มีชาวฮอลันดาเป็นชาวตะวันตกเพียงชาติเดียวที่ทำการค้ากับญี่ปุ่น ช่วงสมัยของโชกุนสามคนแรกนั้นเรียกว่า สมัยการปกครองของทหาร (ญี่ปุ่น: 武断政治 Buten seishi ?) การติดต่อกับเกาหลีและจีนในช่วงต้นศตวรรษที่สิบเจ็ด ทำให้ลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) แพร่เข้ามาในชนชั้นซะมุไรอันเป็นชนชั้นปกครองของญี่ปุ่น ประกอบกับสภาพว่างเว้นสงครามเป็นเวลานานถึงสองร้อยปี ทำให้ชนชั้นซะมุไรผันตนเองจากชนชั้นนักรบมาเป็นชนชั้นนักปราชญ์ ในค.ศ. 1651 โชกุนอิเอะมิสึถึงแก่อสัญกรรม โชกุนโทะกุงะวะ อิเอะสึนะ (ญี่ปุ่น: 徳川家綱 Tokugawa Ietsuna ?) อายุเพียงเก้าปีสืบทอดตำแหน่งโชกุนต่อมา ทำให้อำนาจการปกครองตกอยู่ที่ขุนนางไดเมียวฟุไดและปราชญ์ขงจื้อ ซึ่งเข้าครอบงำบะกุฟุทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการปกครอง สังคมและวัฒนธรรมไปในทางของพลเรือนมากขึ้น เรียกว่า สมัยการปกครองของพลเรือน (ญี่ปุ่น: 文治政治 Bunchi seishi ?) ปรัชญาของลัทธิขงจื้อทำให้สังคมญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นสี่ชนชั้นอย่างชัดเจน และมีผลให้สังคมญี่ปุ่นมีความเคร่งครัดและพิธีรีตองมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ภาวะว่างเว้นสงครามทำให้เกิดปัญหาของโรนิน (ญี่ปุ่น: 浪人 Rōnin ?) หรือซะมุไรตกงานจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นซะมุไรที่เคยรับใช้ฝ่ายตระกูลโทะโยะโตะมิ ซึ่งทางบะกุฟุได้กีดกันและไม่ให้การสนับสนุนเนื่องจากเห็นว่าเป็นภัยสังคมและโรนินเหล่านี้ก็ไม่ได้รับโอกาสในสังคมขงจื้อแบบใหม่ ทำให้โรนินกลายเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของการต่อต้านการปกครองของโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ ในช่วงศตวรรษที่สิบเจ็ดเป็นช่วงเวลาของปราชญ์ขงจื้อชาวญี่ปุ่นคนสำคัญหลายคนได้แก่ ฮะยะชิ ระซัน (ญี่ปุ่น: 林羅山 Hayashi Razan ?), ยะมะซะกิ อันไซ (ญี่ปุ่น: 山崎闇斎 Yamazaki Ansai ?) เป็นปราชญ์ขงจื้อที่ส่งเสริมให้บะกุฟุยึดลัทธิขงจื้อสำนักของจูซื่อ (Zhu Xi ญี่ปุ่น: 朱子学 Shushi gaku ?) ให้เป็นศาสนาประจำชาติ โดยเฉพาะตระกูลฮะยะชิ ซึ่งผูกขาดตำแหน่งที่ปรึกษาของโชกุน และยังมีปราชญ์ขงจื้อที่เป็นโรนิน ต่อต้านลัทธิขงจื้อสำนักของจูซื่อซึ่งเป็นสำนักที่บะกุฟุให้การยึดถือ ยกตัวอย่างเช่น คุมะซะวะ บันซัน (ญี่ปุ่น: 熊沢蕃山 Kumazawa Banzan ?) ผู้ยึดมั่นในลัทธิขงจื้อสำนักของหวังหยางหมิง (Wang Yangming) อันเป็นสำนักคู่แข่งของจูซื่อ และยะมะงะ โซะโก (ญี่ปุ่น: 山鹿素行 Yamaga Sokō ?) ผู้ซึ่งนำลัทธิขงจื้อมาประยุกต์เข้ากับหลักบูชิโดอันเป็นหลักการของชนชั้นซะมุไรในสมัยก่อน ในสมัยของโชกุนโทะกุงะวะ สึนะโยะชิ (ญี่ปุ่น: 徳川綱吉 Tokugawa Tsunayoshi ?) ศิลปวัฒนธรรมญี่ปุ่นสมัยเอะโดะเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด เรียกว่า สมัยเง็นโระกุ (ญี่ปุ่น: 元禄時代 Genroku jidai ?) และวัฒนธรรมเง็นโระกุ (ญี่ปุ่น: 元禄文化 Genroku bunka ?) ประกอบด้วยการศึกษาอักษรศาสตร์และหลักปรัชญาตามลัทธิขงจื้อ งานศิลปกรรมต่างๆ และการบันเทิงอย่างเช่นละครคะบุกิ และละครโนะ ทั้งสามเมืองได้แก่ เอะโดะ เกียวโต และโอซาก้า เจริญขึ้นเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ แต่ชาวญี่ปุ่นกลับมองว่าสมัยเง็นโระกุเป็นสมัยที่มีความเสื่อมโทรมในด้านสังคมและจริยธรรมมากที่สุดสมัยหนึ่ง ด้วยการเรืองอำนาจของขุนนางไดเมียวฟุไดในบะกุฟุทำให้มีการทุจริตฉ้อราชย์บังหลวงอย่างกว้างขวาง ดังจะเห็นได้จากเหตุการณ์โรนินสี่สิบเจ็ดคน (Forty-Seven Ronins; ญี่ปุ่น: 元禄赤穂事件 Genroku Akō jiken ?) โชกุนสึนะโยะชิได้ปราบปรามและลดอำนาจกลุ่มขุนนางฟุไดอย่างหนัก ทำให้โชกุนสึนะโยะชิได้ชื่อว่าเป็นโชกุนที่เข้มงวดและเหี้ยมโหดที่สุดคนหนึ่ง และดึงกลุ่มขุนนางคนสนิทหรือโซะบะโยะนิน (ญี่ปุ่น: 側用人 Sobayōnin ?) เข้ามามีอำนาจแทน และโชกุนสึนะโยะชิยังได้ส่งเสริมลัทธิขงจื้อด้วยการก่อตั้งสำนักยุชิมะ (ญี่ปุ่น: 湯島聖堂 Yushima Seidō ?) ในค.ศ. 1691 ให้เป็นสำนักขงจื้อประจำชาติของญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่นในยุคเอะโดะแตกต่างจากสังคมญี่ปุ่นในยุคอื่นๆ เนื่องจากลัทธิขงจื้อใหม่เข้ามามีอิทธิพล สังคมยุคเอะโดะแบ่งออกเป็นสี่ชนชั้น เรียกว่า ชิโนโกโช (ญี่ปุ่น: 侍農工商 Shinōkōshō ?) ประกอบด้วย ชนชั้นซะมุไร ชนชั้นชาวนา ชนชั้นช่างฝีมือ และชนชั้นพ่อค้า แต่ละชนชั้นมีบทบาทและหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจนเคร่งครัด และการเปลี่ยนแปลงทางชนชั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก ในยุคเอะโดะสถาบันพระจักรพรรดิและราชสำนักที่เมืองเคียวโตะยังคงเป็นสถาบันสูงสุดของประเทศในทางทฤษฎี ในทางปฏิบัติราชสำนักเมืองเกียวโตมีบทบาททางการเมืองและสังคมน้อย ชนชั้นซะมุไร (ญี่ปุ่น: 侍 Shi ?) เป็นชนชั้นอภิสิทธิ์ชนผู้ปกครองประเทศ และเป็นตัวอย่างในทางจริยธรรมให้แก่ชนชั้นอื่น โดยมีจำนวนเป็นส่วนน้อยของประชากร ชนชั้นซะมุไรได้รับอภิสิทธิ์ในการถือครองอาวุธต่างๆเช่น ดาบ ปืน (ชนชั้นอื่นไม่สามารถถือครองอาวุธได้) ในยุคเอะโดะที่ปราศจากการสู้รบ ชนชั้นซะมุไรได้ผันตนเองจากนักรบมาเป็นนักปราชญ์ หน้าที่หลักของชนชั้นซะมุไรอยู่ที่การบริหารบ้านเมือง รายได้และผลผลิตของชนชั้นซะมุไรเกิดจากรายได้ประจำจากรัฐบาลโชกุน และการเรียกเก็บผลผลิตจากชาวนาตามระบอบศักดินาสวามิภักดิ์ (feudalism) ในหมู่ชนชั้นซะมุไรมีการแบ่งออกเป็นลำดับขึ้นตามยศถาบรรดาศักดิ์ ซะมุไรชั้นสูงมีบทบาทในรัฐบาลโชกุนหรือตามแคว้นต่างๆ ในขณะที่ซะมุไรระดับล่างประกอบอาชีพเป็นพนักงานต่างๆ เช่น เสมียน ผู้รักษาความปลอดภัย เป็นต้น ชนชั้นชาวนา (ญี่ปุ่น: 農 Nō ?) เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ มีหน้าที่เพาะปลูกเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อเลี้ยงตนเองและมอบให้แก่ชนชั้นซะมุไร รัฐบาลโชกุนมีการควบคุมกำลังคนที่เข้างวด ชาวนาไม่สามารถเดินทางเคลื่อนย้ายออกจากแคว้นได้หากไม่ได้รับการอนุญาตจากไดเมียว ชนชั้นช่างฝีมือ (ญี่ปุ่น: 工 Kō ?) และชนชั้นพ่อค้า (ญี่ปุ่น: 商 Shō ?) มีศักดิ์ต่ำกว่าชนชั้นชาวนาตามหลักของลัทธิขงจื้อ เนื่องจากชนชั้นช่างฝีมือผลิตสิ่งที่เป็นไปเพื่อความสวยงามเท่านั้น และชนชั้นพ่อค้าหารายได้จากผลผลิตของผู้อื่นเพียงอย่างเดียว แต่ในทางปฏิบัติในยุคเอะโดะชนชั้นช่างฝีมือและชนชั้นพ่อค้ามีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดี ชนชั้นพ่อค้าอาศัยอยู่ในเมือง (ญี่ปุ่น: 町 Machi ?) เช่น โอซะกะ หรือ เอะโดะ ซึ่งอยู่นอกเหนือการควบคุมของไดเมียวแต่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลโชกุนโดยตรง ชนชั้นพ่อค้าซึ่งร่ำรวยมีการแสดงออกทางฐานะโดยการใช้ของหรูหราฟุ่มเฟือยหรือประพฤติตนเช่นเดียวกับชนชั้นซะมุไร ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย รัฐบาลโชกุนมีความพยายามในการห้ามปรามความฟุ่มเฟือยของชนชั้นพ่อค้าตลอดมา นอกเหนือจากสี่ชนชั้น ยังมีกลุ่มคนอื่นๆในสังคมญี่ปุ่นในสมัยเอะโดะได้แก่ โรนิง คือ ชนชั้นซะมุไรซึ่งไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลโชกุนด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น กระทำความผิดกลายเป็นนักโทษ นักบวชและพระภิกษุสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาและศาสนาชินโต เอะตะ (ญี่ปุ่น: 穢多 Eta ?) หรือ ฮินิง (ญี่ปุ่น: 非人 Hinin ?) เป็นกลุ่มคนที่สังคมให้ความรังเกียจ เนื่องจากมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพที่ไม่ได้รับการยอมรับหรือขัดต่อศีลธรรมจรรยาของสังคม ได้แก่ เพชรฆาต นักฆ่าสัตว์ ผู้ทำความสะอาดสิ่งปฏิกูล เป็นต้น เอะตะ หรือ ฮินิง มักอาศัยอยู๋รวมกันเป็นชุมชนตามเมืองต่างๆ ซึ่งเป็นสถานที่ซึ่งชาวเมืองคนอื่นๆให้ความรังเกียจเช่นกัน หลังจากการการฟื้นฟูเมจิ รัฐเมจิได้ออกกฎหมายในปีค.ศ. 1871 เลิกระบอบชนชั้นต่างๆของยุคเอะโดะ ทำให้ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ของประเทศมีสิทธิเท่าเทียมกันทางกฎหมาย รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์ บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น ยุคหิน 35000 ก่อนปี ค.ศ. – 14000 ก่อนปี ค.ศ. ยุคโจมง (縄文時代) 14000 ก่อนปี ค.ศ. – 400 ก่อนปี ค.ศ. ยุคยะโยะอิ (弥生時代) 400 ก่อนปี ค.ศ. – ค.ศ. 250 ยุคโคะฟุง (古墳時代) ค.ศ. 250 – 538 ยุคอะซุกะ (飛鳥時代) ค.ศ. 538 – 710 ยุคนะระ (奈良時代) ค.ศ. 710 – 794 ยุคเฮอัง (平安時代) ค.ศ. 794 – 1185 ยุคคะมะกุระ (鎌倉時代) ค.ศ. 1185 – 1333 ยุคมุโระมะชิ (室町時代) ค.ศ. 1336 – 1573 ยุคเซ็งโงะกุ (戦国時代) ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ (安土桃山時代) ค.ศ. 1568 – 1603 ยุคเอะโดะ (江戸時代) ค.ศ. 1600 – 1868 บะกุมะสึ (幕末) ค.ศ. 1853 - 1868 ยุคเมจิ (明治時代) ค.ศ. 1868 – 1912 ยุคไทโช (大正時代) ค.ศ. 1912 – 1926 ยุคโชวะ (昭和時代) ค.ศ. 1926 – 1989 ยุคเฮเซ (平成時代) ค.ศ. 1989 – ปัจจุบัน ยุทธการเซะกิงะฮะระ เรือตราแดง หรือ ชูอินเซน ฮะเซะกุระ สึเนะนะงะ สำนักยุชิมะ โรนินสี่สิบเจ็ดคน ปฏิทินไทเดิม ============ ปฏิทินแบบไทยดั้งเดิม เป็นปฏทินทางจันทรคติ ที่อาศัยการสังเกตลักษณะรูปร่างของดวงจันทร์ในตอนกลางคืนเพื่อการนับเวลา มีลักษณะคล้ายคลึงกับปฏิทินของชาติต่างในทวีปเอเชีย ปฏิทินไทเดิมนั้นใช้คำแบบโบราณดั้งเดิม ซึ่งบางอย่างยังคงตกทอดมาถึงปัจจุบันในทางโหราศาสตร์ และศาสนา แต่อย่างไรก็ตาม ปฏิทินแบบนี้ยังคงใช้กันในหมู่คนไทกลุ่มอื่นๆ เช่น ลาว ล้านนา ไทใหญ่ ไทลื้อ เป็นต้น ปฏิทินแบบไทยดั้งเดิม เป็นปฏทินทางจันทรคติ ที่อาศัยการสังเกตลักษณะรูปร่างของดวงจันทร์ในตอนกลางคืนเพื่อการนับเวลา มีลักษณะคล้ายคลึงกับปฏิทินของชาติต่างในทวีปเอเชีย ปฏิทินไทเดิมนั้นใช้คำแบบโบราณดั้งเดิม ซึ่งบางอย่างยังคงตกทอดมาถึงปัจจุบันในทางโหราศาสตร์ และศาสนา แต่อย่างไรก็ตาม ปฏิทินแบบนี้ยังคงใช้กันในหมู่คนไทกลุ่มอื่นๆ เช่น ลาว ล้านนา ไทใหญ่ ไทลื้อ เป็นต้น การนับวันที่ใช้การสังเกตรูปร่างของดวงจันทร์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยดวงจันทร์จะมีทั้งเต็มดวง(เดือนเพ็ญ)และจะค่อยๆเหลือเป็นเสี้ยวเล็กลงไปจนกระทั่งมองไม่เห็น(เดือนมืด)เรียกว่าข้างแรม และเพิ่มขึ้นอีกจนกระทั่งเต็มดวงอีกครั้งเรียกว่าข้างขึ้น ซึ่งใช้เวลาประมาณ 30 วันหรือเท่ากับ 1 เดือน การนับวันที่แบบไทเดิมในรอบ 1 เดือนมีดังนี้ วันแรม ๑ ค่ำ วันแรม ๒ ค่ำ วันแรม ๓ ค่ำ วันแรม ๔ ค่ำ วันแรม ๕ ค่ำ วันแรม ๖ ค่ำ วันแรม ๗ ค่ำ วันแรม ๘ ค่ำ วันแรม ๙ ค่ำ วันแรม ๑๐ ค่ำ วันแรม ๑๑ ค่ำ วันแรม ๑๒ ค่ำ วันแรม ๑๓ ค่ำ วันแรม ๑๔ ค่ำ วันแรม ๑๕ ค่ำ วันขึ้น ๑ ค่ำ วันขึ้น ๒ ค่ำ วันขึ้น ๓ ค่ำ วันขึ้น ๔ ค่ำ วันขึ้น ๕ ค่ำ วันขึ้น ๖ ค่ำ วันขึ้น ๗ ค่ำ วันขึ้น ๘ ค่ำ วันขึ้น ๙ ค่ำ วันขึ้น ๑๐ ค่ำ วันขึ้น ๑๑ ค่ำ วันขึ้น ๑๒ ค่ำ วันขึ้น ๑๓ ค่ำ วันขึ้น ๑๔ ค่ำ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ การนับเดือน นับตามตัวเลขทั้ง 12 เดือน ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงใช้กันอยู่ ดังนี้ เดือนอ้าย ตรงกับช่วงเดือนตุลาคม(ล้านนาและลาวใช้เดือนเกี๋ยง) เดือนญี่(เดือนยี่) ตรงกับช่วงเดือนพฤศจิกายน เดือนสาม ตรงกับช่วงเดือนธันวาคม เดือนสี่ ตรงกับช่วงเดือนมกราคม เดือนห้า ตรงกับช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เดือนหก ตรงกับช่วงเดือนมีนาคม เดือนเจ็ด ตรงกับช่วงเดือนเมษายนซึ่งถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ของคนไท เดือนแปด ตรงกับช่วงเดือนพฤษภาคม เดือนเก้า ตรงกับช่วงเดือนมิถุนายน เดือนสิบ ตรงกับช่วงเดือนกรกฎาคม เดือนสิบเอ็ด ตรงกับช่วงเดือนสิงหาคม เดือนสิบสอง ตรงกับช่วงเดือนกันยายน การนับปีของไทเดิม นับตามลำดับปีของราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์ เจ้ามหาชีวิต หรือเจ้าฟ้ามาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น ปีที่ ๙ แห่งราชวงศ์เชียงราย ปีนักษัตรของไทคล้ายคลึงกับจีน ญี่ปุ่น และชาติอื่นๆในเอเชีย คือ ใช้สัตว์ 12 ชนิดเป็นสัญลักษณ์ ใช้คำไทเดิมซึ่งชาวล้านนา ล้านช้าง ไทใหญ่ยังใช้อยู่ แต่ในปัจจุบันไทยใช้คำเขมรดังนี้ ปีใจ้ คือ ปีชวด ปีเปล้า คือ ปีฉลู ปียี คือ ปีขาล ปีเหม้า คือ ปีเถาะ ปีสี คือ ปีมะโรง ปีใส้ คือ ปีมะเส็ง ปีสง้า คือ ปีมะเมีย ปีเม็ด คือ ปีมะแม ปีสัน คือ ปีวอก ปีเร้า คือ ปีระกา ปีเส็ด คือ ปีจอ ปีใค้ คือ ปีกุน ปฏิทินจันทรคติไทย บทความเกี่ยวกับปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เวลา บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย บทความนี้ต้องการจัดรูปแบบข้อความ การจัดหน้า การแบ่งหัวข้อ การจัดลิงก์ภายใน และอื่น ๆ บทความนี้ยังขาดแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง เดือนจันทรคติ เดือน ๑ เดือน ๒ เดือน ๓ เดือน ๔ เดือน ๕ เดือน ๖ เดือน ๗ เดือน ๘ เดือน ๙ เดือน ๑๐ เดือน ๑๑ เดือน ๑๒ พ.ศ. 2554 ========= พุทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น ปีเถาะ ตรีศก จุลศักราช 1373 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) ปีสากลแห่งป่าไม้ ปีสากลแห่งเคมี พุทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น ปีเถาะ ตรีศก จุลศักราช 1373 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) ปีสากลแห่งป่าไม้ ปีสากลแห่งเคมี พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489-2559) นายกรัฐมนตรี : อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2551-5 สิงหาคม พ.ศ. 2554) ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (5 สิงหาคม พ.ศ. 2554-7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554 9 มกราคม - เซาท์ซูดานจัดการลงประชามติแยกตัวเป็นอิสระจากซูดาน 11 มกราคม - อุทกภัยและโคลนถล่มในรัฐรีโอเดจาเนโรของบราซิล ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 845 ศพ 14 มกราคม - อาหรับสปริง, การปฏิวัติตูนิเซีย: รัฐบาลตูนิเซียล่มหลังการประท้วงที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ นานร่วมเดือน ประธานาธิบดีซีน เอล อาบีดีน เบน อาลีลี้ภัยไปยังซาอุดิอาระเบียหลังจากครองอำนาจมานานกว่า 23 ปี 24 มกราคม - เกิดเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว นอกมอสโก ประเทศรัสเซีย ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 35 ศพ และได้รับบาดเจ็บอีกอย่างน้อย 100 ราย 11 กุมภาพันธ์ - ฮุสนี มูบารักประกาศลาออกจากประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ โดยอำนาจการปกครองอยู่กับกองทัพจนกว่าจะจัดการเลือกตั้งทั่วไปได้ 22 กุมภาพันธ์ - เกิดแผ่นดินไหวความรุนแรง 6.3 แมกนิจูด ที่เมืองไครสต์เชิร์ช ประเทศนิวซีแลนด์ สร้างความเสียหายเป็นวงกว้าง และมีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 166 คน 11 มีนาคม - เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 9.0 บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นทำให้เกิดคลื่นสึนามิพัดเข้าถล่มตามมา มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 15,800 คน และอีก 2,600 คนหายสาบสูญ ประกาศแจ้งเตือนภัยคลื่นสึนามิถูกส่งออกไปใน 50 ประเทศรอบมหาสมุทรแปซิฟิก มีการประกาศเหตุฉุกเฉินที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์สี่แห่งที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว 17 มีนาคม - สงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554: สมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีมติ 10-0 เสียง ให้กำหนดเขตห้ามบินเหนือลิเบีย จากข้อกล่าวหาที่รัฐบาลใช้กำลังเข้าปราบปรามพลเรือน 19 มีนาคม - สงครามกลางเมืองลิเบีย: การเข้าแทรกแซงทางทหารในลิเบียภายใต้ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973 เริ่มต้นขึ้นเมื่อเครื่องบินลาดตระเวนเจ็ตของฝรั่งเศสเริ่มบินเหนือน่านฟ้าลิเบีย 23 มีนาคม - จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554 11 เมษายน - อดีตประธานาธิบดีโกตดิวัวร์ โรลอง จิบักโบ ถูกจับกุมในบ้านพักของเขาในอาบิดจัน โดยผู้สนับสนุนประธานาธิบดีอลัสซาน อูอัตทารา โดยได้รับการสนับสนุนจากกองกำลังฝรั่งเศส และเป็นจุดสิ้นสุดของวิกฤตการณ์โกตดิวัวร์และสงครามกลางเมือง พ.ศ. 2553-2554 29 เมษายน - พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน ณ แอบบีเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร มีประชาชนอย่างน้อย 2 พันล้านคนดูการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ 2 พฤษภาคม - ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา บารัค โอบามา แถลงว่า บิน ลาเดน หัวหน้าอัลกออิดะห์ เสียชีวิตจากการบุกเข้าสังหารของหน่วยซีล ที่ประเทศปากีสถาน 21 พฤษภาคม - เถ้าภูเขาไฟจากการปะทุของภูเขาไฟใต้กริมสวอทน์ในไอซ์แลนด์ เริ่มกีดขวางการสัญจรทางอากาศในยุโรปเหนือและยุโรปตะวันตก เหตุการณ์ที่คล้ายกันกับการปิดน่านฟ้าจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์เมื่อ พ.ศ. 2553 4 มิถุนายน - เกิดการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย ในชิลี ทำให้เกิดการยกเลิกการสัญจรทางอากาศทั่วทวีปอเมริกาใต้ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และมีการอพยพประชาชนกว่า 3,000 คน 5 มิถุนายน - อาหรับสปริง: ประธานาธิบดีอาลี อับดุลลาห์ ซาเลห์เดินทางไปกรุงริยาด ซาอุดิอาระเบีย เพื่อรักษาอาการบาดเจ็บซึ่งได้มาระหว่างการโจมตีทำเนียบประธานาธิบดี 3 กรกฎาคม - การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะเทียมประสบความสำเร็จครั้งแรกในโลก โดยใช้หลอดลมเทียมที่หุ้มด้วยสเต็มเซลล์ 9 กรกฎาคม - เซาท์ซูดานแยกตัวเป็นเอกราชจากสาธารณรัฐซูดาน ตามผลการลงประชามติแยกตัวเป็นเอกราชเมื่อเดือนมกราคมปีนี้ 20 กรกฎาคม - สหประชาชาติประกาศทุพภิกขภัยในโซมาเลียใต้ เป็นครั้งแรกในรอบสามสิบปี 21 กรกฎาคม - กระสวยอวกาศแอตแลนติสลงจอดที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี จบภารกิจในเที่ยวบิน STS-135 และปิดโครงการกระสวยอวกาศขององค์การนาซา 22 กรกฎาคม - มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 77 คนในเหตุโจมตีก่อการร้ายสองครั้งในนอร์เวย์ ประกอบด้วยการวางระเบิดอาคารรัฐบาลในกรุงออสโล ตามด้วยเหตุยิงในค่ายเยาวชนการเมืองบนเกาะอูเตอยา 5 สิงหาคม - นาซาประกาศว่า มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์สามารถจับหลักฐานภาพถ่ายที่อาจมีน้ำในสถานะของเหลวอยู่บนดาวอังคาร 22 สิงหาคม - ระหว่างสงครามกลางเมืองลิเบีย ฝ่ายกบฏบุกเข้าสู่กรุงทริโปลี และส่งผลโค่นล้มรัฐบาลมูอัมมาร์ กัดดาฟี 5 กันยายน - อินเดียและบังกลาเทศลงนามสนธิสัญญายุติข้อพิพาทการปักปันเขตนานร่วม 40 ปี 10 กันยายน - เหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์: เรือข้ามฟากเอ็มวี สไปซ์ ไอส์แลนเดอร์ 1 บรรทุกผู้โดยสารอย่างน้อย 800 คน จมนอกชายฝั่งแซนซิบาร์ มีตัวเลขยืนยันผู้เสียชีวิต 240 คน 13 ตุลาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ทรงเข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับ นางสาว เจตซุน เพมา ชาวภูฏาน หลังจากการอภิเษกสมรสแล้ว นางสาวเจตซุน เพมา ได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งภูฏาน ทรงพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก ปัจจุบันทั้ง 2 พระองค์ มีพระราชโอรสพระองค์เดียวคือ เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน 18 ตุลาคม - อิสราเอลและกลุ่มติดอาวุธปาเลสไตน์ ฮามาส เริ่มการแลกเปลี่ยนนักโทษครั้งใหญ่ โดยทหารกองทัพอิสราเอล กิลัด ชาลิต แลกเปลี่ยนกับนักโทษปาเลสไตน์และอิสราเอล-อาหรับ 1,027 คนในอิสราเอล ในจำนวนนี้มีนักโทษ 280 คนที่รับโทษจำคุกตลอดชีวิตในข้อหาวางแผนและเตรียมการโจมตีก่อการร้าย 20 ตุลาคม - อาหรับสปริงและสงครามกลางเมืองลิเบีย พ.ศ. 2554 : อดีตผู้นำลิเบีย มูอัมมาร์ กัดดาฟี ถูกฆ่าในเซิร์ต ขณะที่กองกำลังสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติเข้ายึดนคร สำนักข่าวหลายแห่งบอกว่าเป็นจุดยุติของสงคราม องค์การติดอาวุธแบ่งแยกดินแดนบาสก์ เอตา ประกาศยุติการทัพแห่งความรุนแรงทางการเมืองนาน 43 ปี ซึ่งเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตไปมากกว่า 800 คน ตั้งแต่ พ.ศ. 2502 23 ตุลาคม - แผ่นดินไหวทำลายล้างความรุนแรง 7.2 โมเมนต์แมกนิจูดสั่นสะเทือนทางตะวันออกของตุรกีใกล้กับนครวาน ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 582 คน และสร้างความเสียหายแก่อาคารราว 2,200 หลัง 27 ตุลาคม - หลังการประชุมฉุกเฉินในบรัสเซลส์ สหภาพยุโรปประกาศความตกลงที่จะจัดการกับวิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป อันรวมไปถึงการปรับลดมูลค่าสินทรัพย์ 50% ของพันธบัตรกรีซ, การปรับโครงสร้างเงินทุนธนาคารยุโรปและการเพิ่มกองทุนช่วยเหลือของกองทุนรักษาเสถียรภาพการเงินยุโรป รวมมูลค่า 1 ล้านล้านยูโร 31 ตุลาคม - ประชากรโลกแตะเจ็ดพันล้านคน ตามการประเมินของสหประชาชาติ ยูเนสโกยอมรับปาเลสไตน์เข้าเป็นสมาชิก หลังการออกเสียงซึ่งรัฐสมาชิก 107 ประเทศสนับสนุน และ 14 ประเทศคัดค้าน 26 พฤศจิกายน - โรเวอร์ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ดาวอังคาร คิวริออซิตี พาหนะสำรวจดาวอังคารที่ซับซ้อนที่สุดถึงปัจจุบัน ถูกปล่อยขึ้นสู่อวกาศจากศูนย์อวกาศเคนเนดี มีกำหนดลงจอดบนดวงจันทร์ในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555 15 ธันวาคม - สหรัฐอเมริกาประกาศยุติสงครามอิรักอย่างเป็นทางการ 16 ธันวาคม - พายุโซนร้อนวาชิส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1,249 คนในน้ำป่าไหลหลากในฟิลิปปินส์ โดยมีผู้ถูกขึ้นบัญชีว่าสูญหายอย่างเป็นทางการ 1,079 คน 29 ธันวาคม - ซามัวและโตเกเลาย้ายจากฝั่งตะวันออกมาเป็นตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล เพื่อจัดเขตเวลาของตนให้เข้ากันได้ดีขึ้นกับคู่ค้าหลัก หมายความว่า ทั้งสองจะไม่มีวันที่ 30 ธันวาคมปีนี้ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2554 8 มกราคม เจ้าหญิงโจเซฟินแห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กและเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก เจ้าชายวินเซนต์แห่งเดนมาร์ก พระโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กและเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 ไฟล์:AjahnMahaBua.jpg 02 มกราคม – พีท โพสเทลเวท นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด พ.ศ. 2488) 04 มกราคม มนัส โอภากุล นักประวัติศาสตร์ (เกิด พ.ศ. 2457) เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2 แห่งจักรวรรดิอิหร่าน (ประสูติ 28 เมษายน พ.ศ. 2509) 06 มกราคม – ปอง ปรีดา นักร้องลูกทุ่ง 12 มกราคม – อุดม อุดมโรจน์ ผู้กำกับภาพยนตร์ (เกิด พ.ศ. 2496) 19 มกราคม – มานพ สัมมาบัติ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ (เกิด พ.ศ. 2488) 21 มกราคม – วิสุทธ์ บุษยกุล ราชบัณฑิต (เกิด พ.ศ. 2462) 24 มกราคม – ทองใบ ทองเปาด์ ทนายความ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ (เกิด พ.ศ. 2469) 30 มกราคม – พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) พระชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2456) ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล นางงามไทย (เกิด พ.ศ. 2509) จอห์น แบร์รี นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (เกิด 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476) 06 กุมภาพันธ์ – แกรี มัวร์ นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวไอร์แลนด์ (เกิด พ.ศ. 2495) 23 กุมภาพันธ์ – เจ้าหญิงอะซาเดห์ ชาฟิก พระภาคิไนยในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (ประสูติ พ.ศ. 2494) 28 กุมภาพันธ์ – เจน รัสเซลล์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2464) 02 มีนาคม – ถ้วน หลีกภัย มารดาของชวน หลีกภัย (เกิด พ.ศ. 2458) 05 มีนาคม – อัลเบร์โต กรานาโด นักประพันธ์และนักวิทยาศาสตร์ชาวคิวบา (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2465) 11 มีนาคม – สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) (เกิด พ.ศ. 2466) 18 มีนาคม – เจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก (ประสูติ พ.ศ. 2463) 23 มีนาคม – เอลิซาเบธ เทย์เลอร์ นักแสดงชาวอังกฤษ-อเมริกัน (เกิด พ.ศ. 2475) 10 เมษายน – เจริญใจ สุนทรวาทิน นักร้อง/นักดนตรี ชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2458) 21 เมษายน – สมชาย สุนทรวัฒน์ นักการเมืองไทย (เกิด 22 มกราคม พ.ศ. 2482) 24 เมษายน – สัตยะ สาอีพาพา นักบวชชาวอินเดีย (เกิด 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2469) 29 เมษายน – สันติ ทักราล ข้าราชการไทย องคมนตรี (เกิด พ.ศ. 2485) 02 พฤษภาคม – อุซามะห์ บิน ลาดิน หัวหน้ากลุ่มอัลกออิดะห์ (เกิด พ.ศ. 2500) 07 พฤษภาคม – ไพโรจน์ สุวรรณฉวี นักการเมืองไทย (เกิด พ.ศ. 2492) 09 พฤษภาคม – กำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (เกิด พ.ศ. 2476) 10 พฤษภาคม – เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ นักธุรกิจ อดีตนักการเมืองไทย (เกิด พ.ศ. 2479) 20 พฤษภาคม – แรนดี ซาเวจ นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (เกิด 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495) 21 มิถุนายน – สุวโรช พะลัง นักการเมืองไทย (เกิด พ.ศ. 2497) 04 กรกฎาคม – ออตโต ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย และนักการเมือง (พระราชสมภพ พ.ศ. 2455) 08 กรกฎาคม – เสม พริ้งพวงแก้ว ราษฎรอาวุโส (เกิด พ.ศ. 2454) เบ็ตตี ฟอร์ด อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา (เกิด พ.ศ. 2461) 17 กรกฎาคม – ซาวาดะ ไทจิ นักดนตรีชาวญี่ปุ่น (เกิด พ.ศ. 2509) 20 กรกฎาคม – พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม) พระชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2484) 20 กรกฎาคม – ร้อยโท นายแพทย์ สมศาสตร์ รัตนสัค อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 23 กรกฎาคม – เอมี ไวน์เฮาส์ นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ (เกิด พ.ศ. 2526) 27 กรกฎาคม – สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีพระราชธิดาพระองค์เดียวใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวประสูติแด่พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (ประสูติ พ.ศ. 2468) 16 สิงหาคม – พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร) (เกิด พ.ศ. 2460) 05 กันยายน – กุ้งนาง ปัทมสูต นักแสดงและนักร้องชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2512) 08 กันยายน – หวอ จี๊ กง ประธานสภาแห่งรัฐเวียดนาม คนที่ 2 (เกิด 7 สิงหาคม พ.ศ. 2455) 10 กันยายน – คลิฟฟ์ รอเบิร์ตสัน นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 9 กันยายน พ.ศ. 2466) 18 กันยายน (วันที่พบศพ) – โกร่ง กางเกงแดง นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2471) 20 กันยายน – บูร์ฮานุดดีน รับบานี ประธานาธิบดีแห่งรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน (เกิด 20 กันยายน พ.ศ. 2483) 29 กันยายน – กาเหว่า เสียงทอง นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2490) 30 กันยายน – นริศ อารีย์ นักร้องลูกกรุงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2473) 05 ตุลาคม – สตีฟ จอบส์ วิศวกรคอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน (เกิด พ.ศ. 2498) 12 ตุลาคม – เดนนิส ริตชี นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน (เกิด พ.ศ. 2484) 20 ตุลาคม – มูอัมมาร์ กัดดาฟี ผู้นำเผด็จการชาวลิเบีย (เกิด พ.ศ. 2485) 23 ตุลาคม – มาร์โก ซีมอนเชลลี นักแข่งรถจักรยานยนต์ชาวอิตาลี (เกิด พ.ศ. 2530) 24 ตุลาคม – เค็ง ยะมะงุชิ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น (เกิด 24 มีนาคม พ.ศ. 2499) 27 พฤศจิกายน – แกรี สปีด นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอลชาวเวลส์ (เกิด ค.ศ. 1969) 14 ธันวาคม – โจ ไซมอน นักวาดการ์ตูนชาวอเมริกัน (เกิด พ.ศ. 2456) 17 ธันวาคม – คิม จองอิล ประธานาธิบดีเกาหลีเหนือ (เกิด พ.ศ. 2485) 25 ธันวาคม – อุดม ไกรวัตนุสสรณ์ (เกิด พ.ศ. 2510) สาขาเคมี – แดน เชชท์มัน สาขาวรรณกรรม – โทมัส ทรานสโตรเมอร์ สาขาสันติภาพ – เอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ, เลย์มาห์ โบวี, ตะวักกุล กัรมาน สาขาฟิสิกส์ – ซอล เพิร์ลมัตเตอร์, อดัม รีส, ไบรอัน ชมิดต์ สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – บรูซ บิวต์เลอร์, ฌูเลส์ ฮอฟฟ์แมนน์, ราล์ฟ สไตน์แมน สาขาเศรษฐศาสตร์ – โทมัส ซาร์เจนต์, คริสโตเฟอร์ ซิมส์ 3 กุมภาพันธ์ - วันตรุษจีน 18 กุมภาพันธ์ - วันมาฆบูชา 13-15 เมษายน - สงกรานต์ 13 พฤษภาคม - วันพืชมงคล 17 พฤษภาคม - วันวิสาขบูชา 6 มิถุนายน - วันบะจ่าง 15 กรกฎาคม - วันอาสาฬหบูชา 16 กรกฎาคม - วันเข้าพรรษา 14 สิงหาคม - วันสาร์ทจีน 12 กันยายน - วันไหว้พระจันทร์ 12 ตุลาคม - วันออกพรรษา 10 พฤศจิกายน - วันลอยกระทง 25 ธันวาคม - วันคริสต์มาส มือปืน/โลก/พระ/จัน (พ.ศ. 2544) ดำเนินเรื่องภายในปีนี้ "Número de mortes na Região Serrana continua a subir após 16 dias de buscas" (ใน Portuguese). 27 January 2011.  "Sobe número de mortes na Região Serrana após 14 dias de buscas a vítimas das chuvas" (ใน Portuguese). 25 January 2011.  "Número de mortos na Região Serrana chega a 809; desaparecidos são 469" (ใน Portuguese). 23 January 2011.  World, irishtimes.com (January 16, 2011). "Death toll from Brazil floods hits 600". Irish Times. สืบค้นเมื่อ 16 January 2011.  Wyre Davies (15 December 2010). "BBC News – Tunisia: President Zine al-Abidine Ben Ali forced out". BBC News. สืบค้นเมื่อ 2011-01-14.  "Uprising in Tunisia: People Power topples Ben Ali regime". Indybay. 16 January 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-01-26.  Ferris-Rotman, Amie (24 January 2011). "Suicide bomber kills 31 at Russia's biggest airport". Reuters. สืบค้นเมื่อ 24 January 2011.  "Hosni Mubarak resigns as president" (ใน English). AlJazeera. 11 February 2011. สืบค้นเมื่อ 11 February 2011.  "Multiple deaths as quake strikes Christchurch - ABC News (Australian Broadcasting Corporation)". abc.net.au. 22 February 2011. สืบค้นเมื่อ 22 February 2011.  "Tsunami warning center raises magnitude of Japan quake to 9.1". Honolulu Star-Advertiser. March 11, 2011. สืบค้นเมื่อ March 11, 2011.  "Japan earthquake live blog: Death toll rises amid widespread destruction". CNN blog (TimeWarner). 12 March 2011. สืบค้นเมื่อ 12 March 2011.  http://www.libyafeb17.com/ Kirkpatrick, David D.; Bumiller, Elisabeth (19 March 2011). "France Sends Military Flights Over Libya". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 19 March 2011.  "พระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. 2554". ราชกิจจานุเบกษา (ใน Thai) 128 (18 ก): 1. 2011-03-22.  "Gbagbo, wife in Ouattara's custody in I.Coast: UN | Top News | Reuters". Af.reuters.com. 11 April 2011. สืบค้นเมื่อ 11 April 2011.  Royal wedding: The world watches William and Kate Eurocontrol news Scottish flights grounded by Iceland volcanic ash cloud Iceland eruption hits Norwegian flights Eurocontrol news http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/218845.html "Surgeons carry out first synthetic windpipe transplant". BBC (BBC). 7 July 2011.  Text "http://www.bbc.co.uk/news/health-14047670 " ignored (help); |accessdate= requires |url= (help) "South Sudan: New nation". BBC (BBC). 9 July 2011. สืบค้นเมื่อ 9 July 2011.  "Somalia on verge of famine". 18 July 2011. สืบค้นเมื่อ 18 July 2011.  Unknown parameter |Publisher= ignored (|publisher= suggested) (help) Cheryl L. Mansfield (27 กรกฎาคม 2554). "STS-135: The Final Voyage". NASA. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2554.  Duxbury, Charles; Hovland, Kjetil (23 July 2011), "Savage Terror Attacks", The Wall Street Journal, สืบค้นเมื่อ 23 July 2011, "...at Least 87 Dead" . Birnbaum, Michael; Goodman, J David (22 July 2011), "At Least 80 Are Dead in Norway Shooting", The New York Times, สืบค้นเมื่อ 23 July 2011  More than one of |last1= และ |last= specified (help); More than one of |first1= และ |first= specified (help). "Norway attacks: At least 87 dead in shootings at youth conference, Oslo explosion", The Washington Post, 22 July 2011, สืบค้นเมื่อ 23 July 2011, "...at least 80 people shot to death at a youth political conference outside Oslo after a massive explosion in the capital’s government district killed at least seven people, according to Norwegian police" . "Live - Gaddafi silent as rebels enter Tripoli". RTE (RTE). 22 August 2011. สืบค้นเมื่อ 22 August 2011.  http://ibnlive.in.com/news/indiabangladesh-sign-pact-on-border-demarcation/181937-3.html India-Bangladesh sign pact on border demarcation 197 bodies retrieved in Tanzania ferry accident: Minister Xinhua 11th September 2011 After 5 years in captivity, Shalit is back home - CNN.com Gilad Shalit release: Palestinian prisoner exchange getting under way | World news | guardian.co.uk Schalit reunites with parents, PM... JPost - Diplomacy & Politics "NTC claims capture of Gaddafi - Africa". Al Jazeera English. 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2011-10-20.  "BBC News - Col Gaddafi killed". Bbc.co.uk. สืบค้นเมื่อ 2011-10-20.  "Gaddafi dies of wounds - NTC official | Reuters". Uk.reuters.com. สืบค้นเมื่อ 2011-10-20.  "Muammar Gaddafi 'killed' in gun battle - Africa". Al Jazeera English. 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2011-10-20.  "Footage shows Gaddafi's bloodied body - Middle East". Al Jazeera English. 2011-10-04. สืบค้นเมื่อ 2011-10-20.  http://politica.elpais.com/politica/2011/10/19/actualidad/1319056094_153776.html Earthquake Report - 2011 Van earthquake "Leaders agree eurozone debt deal after late-night talks". BBC News. 27 October 2011. สืบค้นเมื่อ 27 October 2011.  Bhatti, Jabeen (27 October 2011). "EU leaders reach a deal to tackle debt crisis". USA Today. สืบค้นเมื่อ 27 October 2011.  "Population seven billion: UN sets out challenges". BBC News. 2011-10-26. สืบค้นเมื่อ 2011-10-30.  "General Conference admits Palestine as UNESCO Member". 2011-10-31. สืบค้นเมื่อ 2011-12-11.  Dunn, Marcia (26 November 2011). "NASA launches world’s largest rover to Mars". The Globe and Mail (Cape Canaveral, Florida). The Associated Press.  Klotz, Irene (27 November 2011). "NASA rover launched to seek out life clues on Mars". Cape Canaveral, Florida. Reuters.  "NASA launches new Mars rover". Al Jazeera. 26 November 2011.  "US flag ceremony ends Iraq operation". BBC. สืบค้นเมื่อ 15 December 2011.  Easley, Jonathan (December 15, 2011). "Panetta marks Iraq war's end in Baghdad". DEFCON Hill – The HILL’S Defense Blog. สืบค้นเมื่อ 15 December 2011.  "US lowers flag to end Iraq war". The Associated Press. December 15, 2011. สืบค้นเมื่อ 15 December 2011.  "U.S. formally ends Iraq war with little fanfare". The Associated Press. December 15, 2011. สืบค้นเมื่อ 15 December 2011.  Mak, Tim (December 15, 2011). "Leon Panetta marks end of Iraq war". POLITICO.com. สืบค้นเมื่อ 15 December 2011.  "SitRep No. 21 (Re) Effects of Tropical Storm "SENDONG" (WASHI)". Phillippines: National Disaster Risk Reduction and Management Council. 28 December 2011. สืบค้นเมื่อ 28 December 2011.  อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "washi_official" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน หว่า แซ่อึ้ง, เลี๊ยกไฮ้ แซ่โอ้ว, ปฏิทิน 100 ปี เทียบ 3 ภาษา, (ไม่ทราบปีที่พิมพ์). โกออนเจอร์ ในช่วง Go-on Seminar ตอนที่ 32 ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2011 ในปฏิทินอื่น ปฏิทินสุริยคติไทย 2554 ปฏิทินเกรกอเรียน 2011 MMXI Ab urbe condita 2764 ปฏิทินอาร์เมเนีย 1460 ԹՎ ՌՆԿ ปฏิทินอัสซีเรีย 6761 ปฏิทินบาไฮ 167–168 ปฏิทินเบงกาลี 1418 ปฏิทินเบอร์เบอร์ 2961 ปีในรัชกาลอังกฤษ 59 Eliz. 2 – 60 Eliz. 2 พุทธศักราช 2555 ปฏิทินพม่า 1373 ปฏิทินไบแซนไทน์ 7519–7520 ปฏิทินจีน 庚寅年 (ขาลธาตุโลหะ) 4707 หรือ 4647     — ถึง — 辛卯年 (เถาะธาตุโลหะ) 4708 หรือ 4648 ปฏิทินคอปติก 1727–1728 ปฏิทินดิสคอร์เดีย 3177 ปฏิทินเอธิโอเปีย 2003–2004 ปฏิทินฮีบรู 5771–5772 ปฏิทินฮินดู  - วิกรมสมวัต 2067–2068  - ศกสมวัต 1933–1934  - กลียุค 5112–5113 ปฏิทินโฮโลซีน 12011 ปฏิทินอิกโบ 1011–1012 ปฏิทินอิหร่าน 1389–1390 ปฏิทินอิสลาม 1432–1433 ปฏิทินญี่ปุ่น ศักราชเฮเซ 23 (平成23年) ปฏิทินจูเช 100 ปฏิทินจูเลียน เกรกอเรียนลบ 13 วัน ปฏิทินเกาหลี 4344 ปฏิทินหมินกั๋ว ROC 100 民國100年 เวลายูนิกซ์ 1293840000–1325375999 จัดการ: ดู พูดคุย แก้ ความเสียหายจากคลื่นสึนามิในเหตุแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ดยุกและดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ เสด็จออกมหาสมาคม ณ มุขพระราชวังบัคคิงแฮมภายหลังพระราชพิธีเสกสมรส เหตุการณ์หลังจากเกิดการโจมตีที่นอร์เวย์ พระธรรมวิสุทธิมงคล เอลิซาเบธ เทย์เลอร์ อุซามะห์ บิน ลาดิน มูอัมมาร์ กัดดาฟี แกรี สปีด คิม จองอิล ยุครณรัฐ ======== สำหรับยุครณรัฐในญีปุ่น ดู ยุคเซ็งโงะกุ รณรัฐ (จีนตัวย่อ: 战国; จีนตัวเต็ม: 戰國; พินอิน: Zhànguó; อังกฤษ: Warring States) เป็นชื่อยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์จีนโบราณ ถัดจากยุควสันตสารท และสิ้นสุดลงเมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้รวมแผ่นดินในปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล เป็นผลให้รัฐต่าง ๆ ที่รบรากันได้รวมเป็นหนึ่ง คือ จักรวรรดิฉิน ยุครณรัฐเริ่มขึ้นเมื่อใดนั้น นักวิชาการว่าไว้ต่างกัน ซึ่งมักตกในระหว่างปีที่ 481 ถึงปีที่ 403 ก่อนคริสตกาล แต่ซือหม่า เชียน นักประวัติศาสตร์ในราชวงศ์ฮั่น ว่า เริ่มเมื่อปีที่ 475 ก่อนคริสตกาล และข้อเขียนของซือหม่า เชียนนี้เป็นที่อ้างอิงกันมาก ส่วนชื่อ "รณรัฐ" นั้นเรียกตามชื่อหนังสือ "พิชัยสงครามรณรัฐ" (戰國策 Zhàn Guó Cè ?; Strategies of the Warring States) บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์ สำหรับยุครณรัฐในญีปุ่น ดู ยุคเซ็งโงะกุ รณรัฐ (จีนตัวย่อ: 战国; จีนตัวเต็ม: 戰國; พินอิน: Zhànguó; อังกฤษ: Warring States) เป็นชื่อยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์จีนโบราณ ถัดจากยุควสันตสารท และสิ้นสุดลงเมื่อฉินฉื่อหฺวังตี้รวมแผ่นดินในปีที่ 221 ก่อนคริสตกาล เป็นผลให้รัฐต่าง ๆ ที่รบรากันได้รวมเป็นหนึ่ง คือ จักรวรรดิฉิน ยุครณรัฐเริ่มขึ้นเมื่อใดนั้น นักวิชาการว่าไว้ต่างกัน ซึ่งมักตกในระหว่างปีที่ 481 ถึงปีที่ 403 ก่อนคริสตกาล แต่ซือหม่า เชียน นักประวัติศาสตร์ในราชวงศ์ฮั่น ว่า เริ่มเมื่อปีที่ 475 ก่อนคริสตกาล และข้อเขียนของซือหม่า เชียนนี้เป็นที่อ้างอิงกันมาก ส่วนชื่อ "รณรัฐ" นั้นเรียกตามชื่อหนังสือ "พิชัยสงครามรณรัฐ" (戰國策 Zhàn Guó Cè ?; Strategies of the Warring States) บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์ Cotterell, Arthur (2010), Asia, a Concise History, Singapore: John Wiley & Sons, ISBN 978-0-470-82959-2.  Ebrey, Patricia Buckley; Walthall, Anne; Palais, James B. (2006), Pre-Modern East Asia: A Cultural, Social, and Political History, Boston: Houghton-Mifflin Company, ISBN 0-618-13386-0.  Lewis, Mark Edward (1999), "Warring States Political History", in Loewe, Michael; Shaughnessy, Edward L., The Cambridge history of ancient China: from the origins of civilization to 221 B.C., Cambridge University Press, pp. 587–649, ISBN 978-0-521-47030-8.  Lu, Liqing; Ke, Jinhua (2012), "A Concise History of Chinese Psychology of Religion", Pastoral Psychology 61 (5–6): 623–639, doi:10.1007/s11089-011-0395-y.  Tzu, Sun; Griffith, Samuel B. (1963), The Art of War, New York: Oxford University Press  ประวัติศาสตร์จีน ยุคโบราณ สามราชาห้าจักรพรรดิ ราชวงศ์เซี่ย 2100–1600 BCE ราชวงศ์ซาง 1600–1046 BCE ราชวงศ์โจว 1045–256 BCE   ราชวงศ์โจวตะวันตก 1046–771 BCE   ราชวงศ์โจวตะวันออก 771–256 BCE    ยุควสันตสารท    ยุครณรัฐ ยุคจักรวรรดิ ราชวงศ์ฉิน 221 BCE–206 BCE ราชวงศ์ฮั่น 206 BCE–220 CE   ราชวงศ์ฮั่นตะวันตก   ราชวงศ์ซิน   ราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ยุคสามก๊ก 220–280   เว่ย สู่ และ หวู ราชวงศ์จิ้น 265–420   จิ้นตะวันตก ยุคห้าชนเผ่าสิบหกแคว้น 304–439   จิ้นตะวันออก ราชวงศ์เหนือ-ใต้ 420–589 ราชวงศ์สุย 581–618 ราชวงศ์ถัง 618–907   ( ราชวงศ์อู่โจว 690–705 ) ยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร 907–960 ราชวงศ์เหลียว 907–1125 ราชวงศ์ซ่ง 960–1279   ราชวงศ์ซ่งเหนือ เซี่ยตะวันตก   ราชวงศ์ซ่งใต้ จิน ราชวงศ์หยวน 1271–1368 ราชวงศ์หมิง 1368–1644 ราชวงศ์ชิง 1644–1911 ยุคใหม่ สาธารณรัฐจีน 1912–1949 สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีนแผ่นดินใหญ่) 1949–ปัจจุบัน สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) 1949–ปัจจุบัน บทความที่เกี่ยวข้อง  Chinese historiography Timeline of Chinese history Dynasties in Chinese history Linguistic history Art history Economic history Education history Science and technology history Legal history Media history Military history Naval history จัดการ: แม่แบบ • พูดคุย • แก้ไข ซุซะโนะโอะ ========== ซุซะโนะโอะ (ญี่ปุ่น: 須佐之男命 Susano-o no mikoto หรือบางครั้งเขียน Susanowo ?) เป็นเทพเจ้าแห่งทะเลและพายุในศาสนาชินโต ซุซะโนะโอะ (ญี่ปุ่น: 須佐之男命 Susano-o no mikoto หรือบางครั้งเขียน Susanowo ?) เป็นเทพเจ้าแห่งทะเลและพายุในศาสนาชินโต ซุซะโนะโอะ เป็นน้องชายของเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ อะมะเตะระสุ และเทพเจ้าแห่งดวงจันทร์ สึกิโยะมิ โดยเทพเจ้าสามองค์ถือกำเนิดจากเทพ อิซะนะงิ เทพแห่งลมพายุ และเจ้าแห่งงู ผู้ปกครองปีศาจ เขากำเนิดจากจมูกของอิซะนะงิ และได้รับการมอบหมายให้ปกครองทะเล แต่ด้วยความที่เขาเป็นเทพเจ้าที่กล้าหาญ หัวแข็ง ไม่ยอมอยู่ภายใต้กฎใดๆ และใจร้อนหุนหันพลันแล่น เขาทำลายทุกสิ่งไปทั่วไม่จำกัดอยู่แต่ในทะเล เขาได้ส่งพายุไปทำลายทุกสิ่งบนแผ่นดิน และปกคลุมจนท้องฟ้าดำมืด นั่นทำให้เทพเจ้าทั้ง 8 ล้านองค์พิโรธ และประชุมตัดสินลงโทษการก่อกวนเล็กน้อยๆ ของเขา โดยเฉพาะการต่อต้าน อะมะเตะระสุพี่สาวของเขา เขาถูกตัดหนวดเครา, เล็บมือ, ยึดดินแดนที่เขาครอบครองทั้งหมด และขับไล่ไปโลกมนุษย์ เขาได้ผจญภัยไปทั่ว และได้ปราบ ยะมะตะ โนะ โอะโระชิ เป็นงูใหญ่ 8 หัว 8 หาง มีดวงตาแดงก่ำ ลำตัวมีตะไคร่น้ำ และต้นฉำฉางอกอยู่ และที่หางมีดาบคุซะนะงิ โนะ สึรุงิ ("ดาบปราบหญ้า" - ดาบวิเศษมีปลาย 7 แฉกเป็นตัวแทนของสายฟ้า) ปักอยู่ ซึ่งได้ลักพาตัวสาวในหมู่บ้านเจ็ดคน และขณะที่มาลักพาตัวสาวคนที่แปด เทพซุซะโนะโอะได้หลอก ยะมะตะ โนะ โอะโระชิ ให้ดื่มสาเก 8 ไหสำหรับแต่ละหัว และกำจัดลงได้หลังจากที่ยะมะตะ โนะ โอะโระชิ เมาหลับไป ต่อมาเขาแต่งงานกับ คุชินะดะ สร้างวังที่ซึงะ ในเมืองอิซึโมะ ต่อมาได้ย้ายไปที่เมืองเนะโนะคุนิ และปราบโรคระบาด บทความเกี่ยวกับความเชื่อนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก ซุซะโนะโอะและมังกรน้ำ รายชื่อตัวละครในดราก้อนบอลแซด ============================= ตัวละครในภาคดราก้อนบอล Zจะมีหลายตัวที่อยู่ในภาคดราก้อนบอลด้วยเช่นโกคู คุริริน หยำฉา พิคโคโล่ ฯลฯ แต่ส่วนมากมักมาจากภาคก่อนหรือมีความสัมพันธ์กับตัวละครเก่าในภาคก่อน โดยตัวละครแต่ละตัวจะมีความสัมพันธ์กันทั้งในแง่ดีและแง่ร้าย ตัวละครในภาคดราก้อนบอล Zจะมีหลายตัวที่อยู่ในภาคดราก้อนบอลด้วยเช่นโกคู คุริริน หยำฉา พิคโคโล่ ฯลฯ แต่ส่วนมากมักมาจากภาคก่อนหรือมีความสัมพันธ์กับตัวละครเก่าในภาคก่อน โดยตัวละครแต่ละตัวจะมีความสัมพันธ์กันทั้งในแง่ดีและแง่ร้าย ชาวไซย่าแต่ละคนจะมีหาง และพลังที่เรียกว่าซูเปอร์ไซย่า โกคู (อังกฤษ:Goku) (หรือในชื่อ โงกุน) เขาเป็นตัวเอกของเรื่องตั้งแต่ในภาคดราก้อนบอลเป็นชาวไซย่าที่ถูกตามล่าในช่วงแรกๆ เขาได้ไปฝึกวิชากับผู้เฒ่าเต่าและเพื่อนๆอีก 3 คน ทุกคนจะเรียกว่าโงกุน แต่เบจิต้าจะเรียกว่าคาคาล็อตซึ่งเป็นชื่อเมื่อใช้ที่ดาวไซย่า และเขายังสามารถแปลงร่างได้ถึงร่างซูเปอร์ไซย่า3ได้อีกด้วย เบจิต้า (อังกฤษ:Vegeta) เป็นวายร้ายเมื่อมาถึงโลกใหม่ด้วยคำขอร้องของราดิทซ์พี่ชายของโกคู เขาเป็นเจ้าชายแห่งเผ่าไซย่า แต่หลังจากวันศึกชิงเจ้ายุทธภพเขาก็ตายลงแต่ได้มาช่วยโกคูปราบจอมมารบูได้สำเร็จ และกลับใจเป็นคนดีได้ ถึงแม้จะดูถูกโกคูมากในระยะแรก แต่เมื่อมาสู้กับจอมมารบูแล้ว เขาเปลี่ยนความคิดนั้นเลยทันที ราดิทซ์ (อังกฤษ:Raditz) เป็นตัวละครที่มาในตอนแรกๆของภาค แต่หลังจากนั้นก็หายไปเลย (ถูกฆ่าตาย) เขาเป็นพี่ชายแท้ๆของโกคูที่มาตามตัวโกคูกลับดาวไซย่า ถึงแม้โกคูจะโดนตัดหางแล้วแต่เขาก็ยังจำโกคูได้ เขามาถึงโลกพร้อมกับเบจิต้า (จากการขอร้องของเขาเอง) แต่สุดท้ายก็โดนฆ่าตาย ด้วยฝีมือของโกคู น้องชายแท้ๆของเขาเอง ไฟล์:นับปะ.jpg นับปะเป็นชาวไซย่าที่หนีออกมาจากดาวเบจิต้า พร้อมกับราดีซและเบจีต้า มีฝีมือและพลังสูงส่งกว่าราดิซหลายเท่า แต่ก็ยังน้อยกว่าเบจีต้าหลาย ตอนมาที่โลกนัปปะได้ฆ่าชาวโลกและเหล่านักรบ Z ไปหลายคน แต่สุดท้ายก็ถูกเบจีต้าฆ่าตาย ด้วยความผิดฐานพลาดท่าพ่ายแพ้แก่โกคู เกร็ดเล็กน้อย ชื่อของนัปปะ มาจาก Nappa ที่แปลว่า กะหล่ำปลี เป็นชาวไซย่าและชาวโลกเผ่าพันธุ์ละ 50% โกฮัง (อังกฤษ:Gohan) เป็นลูกชายคนโตของโกคูและจีจี้ มีน้องชายชื่อโกเท็น และเป็นคนที่จีจี้รักมาก ในภาคนี้มีแต่งงานกับชาวโลกชื่อว่าบีเดล (ลูกสาวของมิสเตอร์ซาตาน) และมีลูกชื่อว่าปัง โกฮังถึงจะเป็นชาวโลกครึ่งตัว แต่ก็มีพลังซูเปอร์ไซย่าเช่นกัน แต่เขาจะไม่ค่อยออกแนวบู๊สู้รบสักเท่าไร เพราะว่าตัวเขาเองอยากจะเป็นนักวิชาการมากกว่า เขายังเคยได้ไปเพิ่มพลังบนดาวมหาเทพและยังเคยถูกจอมมารบูกลืนเข้าไปด้วย โกฮังแม้เป็นคนที่ดูสุขุม แต่พลังภายในพร้อมระเบิดออกมาทุกขณะ โกเท็น (อังกฤษ:Goten) เป็นลูกชายคนเล็กของโกคูและจีจี้ เป็นน้องชายของโกฮัง และเพื่อนสนิทกับทรังค์สตั้งแต่ยังเล็ก เขาไม่เคยเห็นหน้าพ่อ (โกคู) เลยจนกระทั่งอายุ 7 ขวบ เขาเคยฟิวชั่นหรือรวมร่างกับทรังค์สเป็นโกเท็งครูซเพื่อปราบจอมมารบู ในห้องแห่งการเวลาของพระเจ้าซึ่งพิคโคโล่พาไป แต่สุดท้ายก็โดนจอมมารบูกลืนเข้าไปอีกพร้อมกับพิคโคโล่ ทรังคส์ (อังกฤษ:Trunks) เป็นลูกชายคนโตของเบจิต้าและบลูม่า มีน้องสาวชื่อบูร่า และเป็นเพื่อนกับโกเท็นตั้งแต่ยังเล็ก เขาอยากเป็นนักรบแบบพ่อ (เบจิต้า) และเขาก็ได้เป็นจริงๆ (ในภาพ) เขายังขับยานเป็นด้วย เขาเคยฟิวชั่นหรือรวมร่างกับโกเท็นเป็นโกเท็งครูซเพื่อปราบจอมมารบู ในห้องแห่งการเวลาของพระเจ้าซึ่งพิคโคโล่พาไป แต่สุดท้ายก็โดนจอมมารบูกลืนเข้าไปอีกพร้อมกับพิคโคโล่ บูร่า หรือ "บรา" (อังกฤษ:Bra) เป็นลูกสาวคนเล็กของเบจิต้าและบลูม่า มีพี่ชายชื่อว่าทรังค์ส ไม่ได้ต่อสู้ แต่มีพลังและเก่งกว่าปัง เพราะมีเลือดไซย่า 50% ปัง (อังกฤษ:Pan) เป็นลูกสาวของโกฮังและบีเดล เป็นหลานของโกคู (ปู่) และมิสเตอร์ซาตาน (ตา) เป็นเพื่อนกับบูร่าน้องของทรังค์ส ไม่สามารถเป็นซูเปอร์ไซย่าได้ ปังในวัยเด็ก เป็นเด็กที่มีนิสัยเอาแต่ใจ ไร้เหตุผล และเอาความคิดของตัวเองเป็นหลัก เพราะถูกตามใจจากทั้งพ่อและแม่ ต่อมาได้เติบโตเป็นสาวมั่น จึงทำให้ปังขึ้นคานจนแก่ ไม่ได้แต่งงาน แต่ปังก็ยังช่วยดูแลเลี้ยงดูลูกหลานสายเลือดตระกูลซุน ร่างฟิวชัน (Fusion) เป็นร่างที่มีคน 2 คนมารวมตัวกันเป็นคนเดียวกัน โดยจะมีระยะเวลาการรวมร่าง 30 นาที และมีร่างที่มีการฟิวชันกัน ดังนี้ เบจิโต้ หรือเบจิโตะ (อังกฤษ:Vegito) เป็นร่างที่เกิดการฟิวชันกันระหว่าง "โกคู"และ"เบจิต้า" โดยมีตุ้มหูเล็กๆของพระเจ้า หรือโพทารา เจ้าโพทารานี้ ถ้าเป็นไคโอชินจะรวมร่างได้ตลอดกาล แต่ถ้าเป็นมนุษย์จะรวมร่างได้แค่1ชั่วโมง เกิดจากการฟิวชั่นระหว่างโกคูและเบจิต้า เพื่อปราบจาเนมบ้า โกเท็นครูซ (อังกฤษ:Gotenks) เป็นร่างที่เกิดการฟิวชันกันระหว่าง "โกเท็น"และ"ทรังค์ส" โดยใช้ต่อสู้กับจอมมารบูในห้องแห่งการเวลาของพระเจ้า ก็เลยเปรียบกันว่าโกเท็งครูซเป็นลูกของเบจิโตะ เขาถูกบูกลืนเข้าไปได้ แต่สุดท้ายก็ออกมาได้ด้วยฝีมือเบจิโตะ เขาสามารถใช้พลังใหม่ๆซึ่งไม่เคยใช้ได้อย่างคล่องแคล่วเช่น กามิกาเซ่แอทแทกค์ คิบิโตะชิน (อังกฤษ:Kibitoshin) เป็นร่างที่เกิดการฟิวชันกันระหว่าง "มหาเทพรุ่นที่ 15"และ"คิบิโตะ" โดยใช้โคทารา เพื่อเป็นตัวอย่างให้โกคู ก่อนจะใช้โคทาราฟิวชันกันกับเบจิต้า ดราก้อนบอล ดราก้อนบอล Z ดราก้อนบอล GT ดราก้อนบอล ไค เว็บไซต์ข้อมูลเกี่ยวกับดราก้อนบอลแซด (อังกฤษ) เว็บไซต์เกี่ยวกับของเล่นของดราก้อนบอลแซด (อังกฤษ) เว็บไซต์ดราก้อนบอลแซดของ บริษัทโตเอแอนิเมชัน(ญี่ปุ่น) ตัวละครในเรื่องดราก้อนบอล แซด โกคู หรือ โงกุน เบจิต้า ราดิทซ์ 150px โกฮัง โกเท็น ทรังคส์ บูร่า ปัง โกเท็งครูซ เครื่องยนต์ไอพ่น ================ เครื่องยนต์ไอพ่น (อังกฤษ: jet engine) เป็นเครื่องยนต์แรงปฏิกิริยา (อังกฤษ: Reaction engine) ที่พ่นไอร้อนความเร็วสูงออกทางด้านหลังทำให้เกิดแรงผลัก (อังกฤษ: thrust) ไปข้างหน้า, การขับเคลื่อนของไอพ่น (อังกฤษ: Jet Propulsion) นี้สอดคล้องกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ที่ว่าแรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา นิยามของเครื่องยนต์ไอพ่นที่กว้างขวางนี้ครอบคลุมถึงเครื่องแบบเทอร์โบเจ็ท, เทอร์โบแฟน, เครื่องยนต์จรวด, แรมเจ็ท และพัลส์เจ็ท โดยทั่วไปเครื่องยนต์ไอพ่นเป็นชนิดสันดาบ (อังกฤษ: combustion engines) แต่ก็มีบางชนิดก็ไม่มีการสันดาบ. ในภาษาพูดโดยทั่วไป, เครื่องยนต์ไอพ่นจะหมายถึงอย่างหลวมๆว่าเป็นเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้อากาศหายใจแบบสันดาบภายใน (อังกฤษ: internal combustion airbreathing jet engine) หรือ เครื่องยนต์แบบใช้ท่อ (อังกฤษ: duct engine)ซึ่งปกติจะประกอบด้วยตัวอัดอากาศ (อังกฤษ: air compressor) ที่หมุนด้วยกำลังขับจากกังหัน (อังกฤษ: turbine) ตามหลักของวัฏจักรเบรตัน (อังกฤษ: Brayton cycle) พลังงานที่เหลือทิ้งในรูปของก๊าซร้อนจะสร้างแรงผลักที่จะเคลื่อนที่ผ่านหัวฉีด (อังกฤษ: nozzle). อากาศยานไอพ่นใช้เครื่องยนต์ประเภทนี้สำหรับการเดินทางระยะไกล. อากาศยานไอพ่นในยุคแรกใช้เครื่องยนต์แบบเทอร์โบเจ็ทซึ่งค่อนข้างไม่มีประสิทธิภาพสำหรับการบินความเร็วต่ำกว่าเสียง (อังกฤษ: subsonic). อากาศยาน subsonic ที่ทันสมัยปกติจะใช้เครื่องยนต์แบบ high-bypass turbofan. เครื่องยนต์เหล่านี้ให้ความเร็วสูงและมีประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงดีกว่าเครื่องยนต์ใช้อากาศหายใจแบบใบพัดและแบบลูกสูบในการเดินทางระยะไกล. เครื่องยนต์ไอพ่น (อังกฤษ: jet engine) เป็นเครื่องยนต์แรงปฏิกิริยา (อังกฤษ: Reaction engine) ที่พ่นไอร้อนความเร็วสูงออกทางด้านหลังทำให้เกิดแรงผลัก (อังกฤษ: thrust) ไปข้างหน้า, การขับเคลื่อนของไอพ่น (อังกฤษ: Jet Propulsion) นี้สอดคล้องกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ที่ว่าแรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา นิยามของเครื่องยนต์ไอพ่นที่กว้างขวางนี้ครอบคลุมถึงเครื่องแบบเทอร์โบเจ็ท, เทอร์โบแฟน, เครื่องยนต์จรวด, แรมเจ็ท และพัลส์เจ็ท โดยทั่วไปเครื่องยนต์ไอพ่นเป็นชนิดสันดาบ (อังกฤษ: combustion engines) แต่ก็มีบางชนิดก็ไม่มีการสันดาบ. ในภาษาพูดโดยทั่วไป, เครื่องยนต์ไอพ่นจะหมายถึงอย่างหลวมๆว่าเป็นเครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้อากาศหายใจแบบสันดาบภายใน (อังกฤษ: internal combustion airbreathing jet engine) หรือ เครื่องยนต์แบบใช้ท่อ (อังกฤษ: duct engine)ซึ่งปกติจะประกอบด้วยตัวอัดอากาศ (อังกฤษ: air compressor) ที่หมุนด้วยกำลังขับจากกังหัน (อังกฤษ: turbine) ตามหลักของวัฏจักรเบรตัน (อังกฤษ: Brayton cycle) พลังงานที่เหลือทิ้งในรูปของก๊าซร้อนจะสร้างแรงผลักที่จะเคลื่อนที่ผ่านหัวฉีด (อังกฤษ: nozzle). อากาศยานไอพ่นใช้เครื่องยนต์ประเภทนี้สำหรับการเดินทางระยะไกล. อากาศยานไอพ่นในยุคแรกใช้เครื่องยนต์แบบเทอร์โบเจ็ทซึ่งค่อนข้างไม่มีประสิทธิภาพสำหรับการบินความเร็วต่ำกว่าเสียง (อังกฤษ: subsonic). อากาศยาน subsonic ที่ทันสมัยปกติจะใช้เครื่องยนต์แบบ high-bypass turbofan. เครื่องยนต์เหล่านี้ให้ความเร็วสูงและมีประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงดีกว่าเครื่องยนต์ใช้อากาศหายใจแบบใบพัดและแบบลูกสูบในการเดินทางระยะไกล. เครื่องยนต์ไอพ่นให้กำลังกับอากาศยาน, ขีปนาวุธและยานอากาศไร้คนขับ. ในรูปของเครื่องยนต์จรวด, พวกมันให้พลังกับพลุ, จรวดแบบจำลอง, ยานอวกาศและขีปนาวุธทางทหาร. เครื่องยนต์ไอพ่นขับเคลื่อนรถยนต์ความเร็วสูง, โดยเฉพาะรถแข่ง, ด้วยสถิติตลอดกาลโดยรถจรวด (อังกฤษ: rocket car). รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยเทอร์โบแฟนชื่อ ThrustSSC เป็นตัวทำสถิติความเร็วในปัจจุบัน. การออกแบบเครื่องยนต์ไอพ่นมักจะได้รับการปรับปรุงสำหรับการใช้งานที่ไม่ใช้อากาศยาน, โดยใช้เป็นเครื่องกังหันแก๊สในอุตสาหกรรม, เช่นในการผลิตไฟฟ้า, เครื่องสูบน้ำ, แก๊สธรรมชาติหรือน้ำมัน, และขับเคลื่อนเรือหรือยานบนบกอื่นๆ. เครื่องยนกังหันแก๊สอุตสาหกรรมสามารถผลิตกำลังได้สูงถึง 50,000 แรงม้า. เครื่องยนต์เหล่านี้จำนวนมากถูกนำไปพัฒนาเพื่อใช้กับงานตั้งแต่เครื่องเทอร์โบเจ็ททางทหารแบบเก่าเช่นเครื่องต้นแบบ J57 และ J75 ของ Pratt & Whitney. นอกจากนี้ ยังมีพวกอนุพันธ์ของ JT8D low-bypass turbofan ของ P&W ที่สามารถผลิตกำลังงานได้ถึง 35,000 แรงม้า. เครื่องยนต์ไอพ่นมีหลายแบบ แต่ทุกแบบจะได้แรงผลักไปข้างหน้า (อังกฤษ: forward thrust) จากหลักการของ "การขับเคลื่อนด้วยไอพ่น" บทความหลัก: Airbreathing jet engine โดยทั่วไป อากาศยานจะถูกขับเคลื่อนโดยเครื่องยนต์ไอพ่นชนิดใช้อากาศหายใจ, เครื่องยนต์แบบนี้ที่มีการใช้งานส่วนใหญ่เป็นแบบเทอร์โบแฟน ซึ่งให้ประสิทธิภาพที่ดีเมื่อบินที่ความเร็วต่ำกว่าความเร็วเสียง. บทความหลัก: Gas turbine เครื่องยนต์กังหันแก๊สจัดเป็นเครื่องยนต์แบบโรตารี ที่สกัดพลังงานจากการไหลของแก๊สที่เผาไหม้. เครื่องยนต์นี้ประกอบด้วย ตัวอัดอากาศ (อังกฤษ: air compressor) ที่ต้นทาง เชื่อมต่อเข้ากับกังหัน (อังกฤษ: turbine) ปลายทาง โดยมีห้องเผาไหม้ (อังกฤษ: combustion chamber) อยู่ระหว่างกลาง. ในเครื่องยนต์ของอากาศยาน, ส่วนประกอบหลักทั้งสามนี้มักถูกเรียกว่า "ตัวผลิตแก๊ส" (อังกฤษ: gas generator). เครื่องยนต์กังหันแก๊สมีหลากหลายรูปแบบ แต่พวกมันทั้งหมดใช้ระบบของตัวผลิตแก๊สแบบใดแบบหนึ่งทั้งสิ้น. บทความหลัก: Turbojet เครื่องยนต์เทอร์โบเจ็ท จัดเป็นเครื่องยนต์แบบกังหันแก๊ส (อังกฤษ: gas turbine engine) ที่ทำงานตามขั้นตอนดังนี้ (1) อัดอากาศเข้าช่องนำอากาศเข้า (อังกฤษ: inlet) (2) ตัวอัดอากาศทำการอัดอากาศตามแนวแกน (อังกฤษ: axial compression) หรืออัดอากาศตามแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ (อังกฤษ: centrifugal compression) หรือทั้งสองแบบ, (3) ทำการผสมเชื้อเพลิงเข้ากับอากาศที่ถูกบีบอัดแล้วนั้น, (4) เผาใหม้ส่วนผสมนั้นในห้องเผาไหม้, (5) จากนั้นก็ส่งแก๊สร้อนที่ถูกบืบอัดผ่านกังหันและหัวฉีด (อังกฤษ: nozzle) แล้วพ่นแก๊สออกมาด้านหลัง. เท่ากับว่ากังหันจะสกัดพลังงานจากแก๊สขยายตัวที่ไหลผ่านตัวมัน, ส่งพลังงานนั้นให้กับตัวบืบอัด, เป็นการแปลงพลังงานภายในของเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงานจลน์ในแก๊สที่ปล่อยออกมา, เป็นการสร้างแรงผลัก (อังกฤษ: thrust). อากาศทั้งหมดที่เข้าทาง inlet ถูกส่งผ่านเข้าไปยัง compressor, ผ่านห้องเผาใหม้และกังหัน, ไม่เหมือนเครื่องยนต์แบบ turbofan ที่อธิบายอยู่ข้างล่างนี้. บทความหลัก: Turbofan เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนจัดเป็นเครื่องยนต์กังหันแก๊สที่มีความคล้ายกันกับเครื่องยนต์เทอร์โบเจ็ท. เนื่องจากมันใช้แกนของแก๊สเจนเนอเรเตอร์ (ได้แก่ compressor, combustor, และ turbine) ในการเปลี่ยนรูปพลังงานจากเชื้อเพลิงเป็นพลังงานจลน์ในไอเสียที่พ่นที่ออกจากท้ายเครื่อง. สิ่งที่ทำให้เครื่องยนต์เทอโบแฟน แตกต่างจากเทอร์โบเจ็ท คือมันติดตั้งชิ้นส่วนเพิ่มเติมนั่นคือ พัดลม (อังกฤษ: fan). เช่นเดียวกับ compressor, พัดลมได้รับกำลังขับจากส่วนที่เป็นกังหันของเครื่องยนต์. ไม่เหมือนกับ turbojet, อากาศบางส่วนถูกเร่งความเร็วโดยพัดลมให้ ไม่ผ่าน หรือ bypass แกนของแก๊สเจนเนอเรเตอร์และถูกพ่นออกผ่านหัวฉีด. อากาศที่ bypass นี้จะมีความเร็วที่ต่ำกว่า, แต่มีมวลมากกว่า, สร้างแรงผลักโดยพัดลมได้ประสิทธิภาพมากกว่าแรงผลักที่เกิดจากแกน. เทอร์โบแฟนโดยทั่วไปมีประสิทธิภาพมากกว่าเทอร์โบเจ็ทที่ความเร็วน้อยกว่าเสียง, แต่มีพื้นที่ด้านหน้าใหญ่กว่าทำให้เกิดแรงต้านมากกว่า. เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทโดยทั่วไปคือแบบ low bypass และแบบ high bypass. แบบ low bypass จะมีอัตราส่วนการ bypass ประมาณ 2 : 1 หรือน้อยกว่า นั่นหมายความว่าแต่ละ 3 กิโลกรัมของอากาศที่ไหลเข้าแกนของเครื่อง (core engine) จะมีอากาศประมาณ 2 กิโลกรัมหรือน้อยกว่าไม่ไหลผ่าน หรือ bypass แกนของเครื่อง (core engine) เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนแบบ Low bypass นั้นมักจะใช้ท่อเป่าอากาศร้อนแบบผสม(อังกฤษ: mixed exhaust nozzle) นั่นหมายความว่า อากาศที่ผ่านแกนเครื่องและไม่ผ่านแกนเครื่องทั้งสองส่วนจะต้องผ่านหัวฉีดตัวเดียวกันเป็นไอพ่นออกจากท้ายเครื่องยนต์. เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนชนิด High bypass นั้นจะมีอัตราส่วนการ bypass ที่สูงกว่า บางครั้งอาจจะอยุ่ที่ระดับ 5:1 หรือ 6:1. เครื่องยนต์ประเภทนี้สามารถสร้างแรงขับได้มากกว่าเครื่อง low bypass หรือเทอร์โบเจ็ท เนื่องจากอากาศมีมวลปริมาณมหาศาลเกินกว่าพัดลมจะสามารถเร่งได้ และโดยทั่วไป เครื่องยนต์ high bypass จะมีประสิทธิภาพด้านการใช้เชื้อเพลิงดีกว่าด้วย[ต้องการอ้างอิง]. บทความหลัก: Turboprop และ Turboshaft เครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร๊อป (อังกฤษ: Turboprop engine) เป็นอนุพันธ์ของเครื่องยนต์เจ็ท, แต่ยังคงเป็นเครื่องยนต์กังหันแก็ส, ที่สกัดกำลังจากไอเสียที่ร้อนเพื่อนำไปหมุนเพลา, จากนั้นแรงหมุนจากเพลาจึงจะถูกนำไปใช้สร้างแรงผลักด้วยวิธีการอื่นบางอย่าง. โดยที่ไม่ได้เข้มงวดนักว่ามันเป็นเครื่องยนต์เจ็ทที่มันจะต้องพึ่งพากลไกระดับรองในการสร้างแรงผลัก, เทอร์โบพร็อปก็คล้ายกันมากกับเครื่องยนต์เจ็ทแบบใช้กังหันอื่นๆ, และมักจะถูกอธิบายว่าเป็นอย่างนั้น. ในเครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร็อป, ส่วนหนึ่งของแรงผลักของเครื่องยนต์ถูกสร้างโดยการหมุนของใบพัด, แทนที่จะพึ่งพาไอร้อนความเร็วสูงที่พ่นออกมาแต่เพียงอย่างเดียว. เมื่อแรงผลักไอพ่นของมันถูกเสริมด้วยใบพัด, เทอร์โบพร็อปบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นเครื่องยนต์ไอพ่นพันธ์ผสม. ในขณะที่เทอร์โบพร็อปจำนวนมากผลิตแรงผลักส่วนใหญ่ด้วยใบพัด, ไอพ่นร้อนเป็นจุดออกแบบที่สำคัญ, และแรงผลักจะได้รับสูงสุดโดยการ matching ระหว่างแรงผลักที่เกิดจากใบพัดกับแรงผลักที่เกิดจากไอพ่น. เทอร์โบพร็อปโดยทั่วไปมีการทำงานที่ดีกว่าเทอร์โบเจ็ทหรือเทอร์โบแฟนที่ความเร็วต่ำเมื่อใบพัดมีประสิทธิภาพที่สูง, แต่จะมีเสียงรบกวนมากที่ความเร็วสูง. เครื่องยนต์แบบเทอร์โบชาฟต์ (อังกฤษ: Turboshaft engines) คล้ายกันมากกับเทอร์โบพร๊อป, แต่สิ่งที่ต่างคือกำลังเกือบทั้งหมดที่ได้จากกังหันแก๊สจะนำไปขับเพลาหมุน (อังกฤษ: rotating shaft), ซึ่งจะถูกใช้ไปหมุนเครื่องยนต์แทนที่จะเป็นใบพัด, เพราะฉะนั้น มันจึงผลิตแรงขับที่เกิดจากไอพ่นเพียงเล็กน้อยหรือไม่ได้ผลิตเลย. เฮลิคอปเตอร์จะใช้เครื่องยนต์ชนิดนี้. เครื่องยนต์แบบพร๊อปแฟน (ชึ่งอาจเรียกว่า unducted fan หรือ open rotor หรือ ultra-high bypass ก็ได้) คือเครื่องยนต์เจ็ทที่ใช้แก๊สเจนเนอเรเตอร์เป็นตัวขับเคลื่อน fan ที่เปิดหน้าออก, คล้ายกับเครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร๊อป. พร๊อปแฟนจะสร้างแรงผลักส่วนใหญ่จากใบพัด, ไม่ใช่จากไอพ่น. ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างการออกแบบของเครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร๊อปกับพร๊อปแฟนก็คือแผ่นของใบพัด (อังกฤษ: propeller blades) บนพร๊อปแฟนถูกทำให้สามารถกวาดไปได้ด้วยความเร็วสูงถึง 0.8 เท่าของความเร็วเสียง (อังกฤษ: 0.8 Mach) ซึ่งสูสีกับเครื่องยนต์แบบเทอร์โบแฟนที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ที่ทันสมัย. เครื่องยนต์ชนิดนี้มีข้อได้เปรียบด้านประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงเหนือเครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร๊อปด้วยความสามารถในการทำงานของเทอร์โบแฟนในทางพานิชย์. ในขณะที่การวิจัยและการทดสอบอย่างมีนัยสำคัญ (รวมทั้งการทดสอบการบิน)ได้ดำเนินการไปแล้วกับเครื่องยนต์แบบพร๊อปแฟน, ยังไม่มีเครื่องยนต์แบบนี้เข้าสู่ขบวนการผลิต. หมายเหตุ* เครื่องยนต์เทอร์โบพร๊อปทั่วไปจะมีขีดจำกัดความเร็ว สาเหตุมาจากประสิทธิภาพของใบพัด เนื่องจากเมื่อความเร็วสูงถึงจุดหนึ่ง จะเกิดการ stall ที่ปลายสุดของใบพัด ทำให้เกิดแรงต้านการเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นมาก นี่จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้เครื่องยนต์เทอร์โบพร๊อปมีประสิทธิภาพต่ำเมื่อบินด้วยความเร็วสูง (ประมาณ 700 กม./ชม.) เครื่องยนต์เจ็ทชนิดที่ใช้กำลังแบบแรม (อังกฤษ: Ram powered jet engines) คือเครื่องยนต์ชนิดใช้อากาศหายใจชนิดหนึ่ง ซึ่งคล้ายกับเครื่องยนต์กังหันแก๊สและใช้หลักการของวัฏจักรเบรย์ตันเช่นเดียวกัน. อย่างไรก็ตาม สิ่งที่แตกต่างคือวิธีการอัดอากาศที่ไหลเข้ามา. ในขณะที่เครื่องยนต์กังหันแก๊สจะใช้ตัวบีดอัดแบบรอบแกนหรือหนีศูนย์, แต่เครื่องยนต์แบบแรมจะใช้การบีบอัดโดยให้อากาศไหลผ่าน inlet หรือตัวดิฟฟิวเซอร์ (อังกฤษ: diffuser). เครื่องยนต์แบบแรมยังจัดว่าเป็นเครื่องยนต์ชนิดใช้อากาศหายใจที่ซับซ้อนน้อยที่สุด เนื่องจากไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ขณะปฏิบัติงาน. บทความหลัก: Ramjet แรมเจ็ท เป็นเครื่องยนต์เจ็ทที่ได้รับพลังงานจากแรมชนิดที่พื้นฐานที่สุด ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ทางเข้าของอากาศ (อังกฤษ: inlet) ที่ทำหน้าที่บีบอัดอากาศที่ไหลเข้าเครื่องยนต์ ตัวจุดระเบิด (อังกฤษ: combustor) ทำหน้าที่ฉีดเชื้อเพลิงและจุดระเบิด หัวฉีด (อังกฤษ: nozzle) ทำหน้าที่เร่งไอเสียให้ออกไปทางท้ายเครื่องยนต์เพื่อสร้างแรงขับดัน (อังกฤษ: thrust) เครื่องยนต์ชนิดนี้จำเป็นต้องให้อากาศไหลเข้าด้วยความเร็วค่อนข้างสูง จึงจะสามารถอัดอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นเครื่องยนต์นี้จึงไม่สามารถทำงานได้เมื่อเครื่องบินอยู่นิ่งๆบนพื้น แต่จะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อบินด้วยความเร็วเหนือเสียง (อังกฤษ: supersonic). ลักษณะเฉพาะของเครื่องยนต์ชนิดนี้คือ การเผาไหม้จะทำที่ความเร็วต่ำกว่าความเร็วเสียง. อากาศความเร็วเหนือเสียงที่ไหลเข้าถูกทำให้ช้าลงผ่าน inlet, จากนั้นมันจะถูกเผาใหม้ที่ความเร็วต่ำกว่าเสียงมากๆ เพราะฉะนั้น เครื่องยนต์แรมเจ็ทจึงถูกจำกัดที่ประมาณ มัค 5 เท่านั้น บทความหลัก: Scramjet สแครมเจ็ทใช้กลไกที่ใกล้เคียงกับแรมเจ็ทมาก เหมือนแรมเจ็ท มันประกอบด้วยสามส่วนหลักๆ ได้แก่ inlet, combustor และ nozzle สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างแรมเจ็ทและสแครมเจ็ทก็คือสแครมเจ็ทจะไม่ทำให้อากาศที่ไหลเข้าช้าลงต่ำกว่าความเร็วเสียงเพื่อการเผาไหม้, แต่มันใช้การเผาใหม้แบบความเร็วเหนือเสียงแทน. คำว่าสแครมเจ็ท (อังกฤษ: scram jet) นี้มาจากคำว่า "supersonic combusting ramjet" เนื่องจากสแครมเจ็ทใช้การเผาใหม้ที่ความเร็วเหนือเสียง, มันจึงสามารถทำงานได้ที่ความเร็วสูงกว่ามัค 6 ในที่ซึ่งแรมเจ็ททั่วไปจะมีประสิทธิภาพที่ต่ำมาก. ความแตกต่างอีกอย่างหนึ่งระหว่างแรมเจ็ทและสแครมเจ็ทมาจากวิธีที่แต่ละแบบของเครื่องยนต์บีบอัดอากาศที่ไหลเข้า: ในขณะที่ inlet ทำการบีบอัดเป็นส่วนใหญ่สำหรับแรมเจ็ท, ความเร็วสูงในจุดที่สแครมเจ็ททำงานยอมให้มันใช้ข้อได้เปรียบของการบีบอัดที่สร้างขึ้นโดยคลื่นช็อก (อังกฤษ: shock wave) ที่อ้อมๆ. มีเครื่องยนต์สแครมเจ็ทไม่มากที่เคยถูกสร้างขึนและทำการบิน. ในเดือนพฤษภาคม 2010 เครื่อง Boeing X-51 ทำสถิติความอดทนสำหรับการเผาสแครมเจ็ทที่นานที่สุดที่มากกว่า 200 วินาที บทความหลัก: Rocket engine เครื่องยนต์จรวด ใช้หลักการพื้นฐานด้านกายภาพเดียวกันกับเครื่องยนต์ไอพ่นในการสร้างการขับดันโดยผ่านแรงผลัก, แต่ที่แตกต่างคือมันไม่ต้องใช้อากาศทั่วไปบนผิวโลกเพื่อสร้างออกซิเจน; เนื่องจากจรวดจะบรรทุกชิ้นส่วนทั้งหมดของวัสดุที่จำเป็นต่อการสร้างกำลังขับขึ้นไปด้วย. วิธีนี้สามารถทำให้เครื่องยนต์ชนิดนี้สามารถทำงานได้ที่ระดับความสูงใดๆก็ได้และในอวกาศ. เครื่องยนต์ชนิดนี้จะถูกใช้สำหรับการส่งดาวเทียม, การสำรวจอวกาศและการขับเคลื่อนด้วยมนุษย์, และปฏิบัติการลงพื้นดวงจันทร์ในปี 1969. เครื่องยนต์จรวดใช้สำหรับการบินในระดับความสูงที่สูงมาก เนื่องจากเป็นการบินโดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนจากบรรยากาศรอบข้าง ทำให้สามารถปฏิบัติงานได้ที่ความสูงใดๆก็ได้ หรือในกรณีที่ต้องการสร้างความเร่งที่สูงมากได้ ซึ่งเป็นเพราะเครื่องยนต์ชนิดนี้มีอัตราส่วนแรงผลักต่อน้ำหนักตัว (อังกฤษ: thrust-to-weight ratio) ที่สูงมาก อย่างไรก็ตาม, ความเร็วไอพ่นที่สูงและสารขับหรือเชื้อเพลิงขับ (อังกฤษ: propellant)ที่อุดมไปด้วยตัว oxidizer ที่หนักกว่าจะส่งผลให้มีการใช้ propellant มากกว่าการใช้เทอร์โบแฟนมากๆ, แม้กระนั้นก็ตาม ที่ความเร็วสูงอย่างสุดขั้ว พวกมันมีประสิทธิภาพด้านพลังงานดีมาก สมการหนึ่งสำหรับการประมาณค่าแรงผลักสุทธิของเครื่องยนต์จรวดเป็นดังนี้: F N = m ˙ g 0 I s p − v a c − A e p {\displaystyle F_{N}={\dot {m}}\,g_{0}\,I_{sp-vac}-A_{e}\,p\;} โดยที่ F N {\displaystyle F_{N}} เป็นแรงผลักสุทธิ (อังกฤษ: net thrust), I s p ( v a c ) {\displaystyle I_{sp(vac)}} เป็นแรงกระตุ้นเฉพาะ (อังกฤษ: specific impulse), g 0 {\displaystyle g_{0}} เป็นแรงโน้มถ่วงมาตรฐาน (อังกฤษ: standard gravity), m ˙ {\displaystyle {\dot {m}}} คืออัตราการไหลของเชื้อเพลิงขับ มีหน่วยเป็น kg/s, A e {\displaystyle A_{e}} พื้นที่หน้าตัดของ nozzle ที่ทางออกของไอพ่น, และ P {\displaystyle P} เป็นความดันบรรยากาศ เครื่องยนต์แบบรอบผสม (อังกฤษ: Combined cycle engines) ใช้หลักการทำงานพร้อมกันของเครื่องยนต์ไอพ่นสองเครื่องหรือมากกว่าที่แตกต่างกัน. บทความหลัก: Pump-jet Water jet หรือ pump jet, เป็นระบบขับเคลื่อนทางน้ำที่ใช้การพ่นของน้ำ. เครื่องกลไกประกอบด้วยใบพัดที่เป็นท่อกับหัวฉีด, หรือตัวอัดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์(อังกฤษ: centrifugal compressor) กับห้วฉีด. เครื่องยนต์เจ็ททุกเครื่องเป็นเครื่องยนต์ปฏิกิริยาที่สร้างแรงผลักโดยการปล่อยไอพ่นออกทางด้านหลังที่ความเร็วค่อนข้างสูง. แรงทั้งหลายภายในเครื่องยนต์จะเป็นตัวสร้างไอพ่นนี้, ซึ่งจะให้แรงผลักที่แข็งแกร่งในเครื่องยนต์ซึ่งผลักให้ยานไปข้างหน้า. เครื่องยนต์เจ็ตสร้างไอพ่นของมันจากเชื้อเพลิงในถังเก็บที่ติดมากับเครื่องยนต์ (เหมือนกับใน 'จรวด') เช่นเดียวกับในเครื่องยนต์ใช้ท่อ (อังกฤษ: duct engine) (ที่ใช้กันทั่วไปบนเครื่องบิน) โดยการบริโภคของเหลวภายนอก (มักเป็นอากาศ) และขับไล่มันออกที่ความเร็วที่สูงขึ้น. หัวฉีดที่สร้างแรงขับ (อังกฤษ: propelling nozzle)เป็นองค์ประกอบสำคัญของเครื่องยนต์เจ็ททุกเครื่องเพราะมันสร้างไอพ่น (ไอเสีย). หัวฉีดที่สร้างแรงขับเปลี่ยนก๊าซร้อนที่อยู่ภายใต้การบีบอัดเคลื่อนไหวช้าให้เป็นแก๊สที่เย็นกว่า, ความดันต่ำกว่า, แต่เคลื่อนที่เร็วกว่าโดยกรรมวิธีที่เรียกว่า adiabatic expansion. หัวฉีดที่สร้างแรงขับสามารถทำงานที่ความเร็วต่ำกว่าเสียง, เท่าเสียงหรือเหนือเสียง, แต่ในการทำงานปกติ หัวฉีดมักจะทำงานที่ความเร็วเสียงหรือเหนือเสียง. หัวฉีดดำเนินการเพื่อควบคุมการไหลและด้วยเหตุนี้มันจึงช่วยเพิ่มความดันในเครื่องยนต์, และทางกายภาพแล้วหัวฉีดมักจะเป็นแบบ convergent, หรือ convergent-divergent. หัวฉีดแบบ convergent-divergent สามารถให้ความเร็วไอพ่นแบบเหนือเสียงเจ็ทภายในส่วนของ divergent, ในขณะที่หัวฉีดแบบ convergent ของเหลวไอเสียไม่สามารถมีความเร็วเกินกว่าความเร็วของเสียงของแก๊สที่อยู่ภายในหัวฉีด แรงผลักสุทธิ (FN) ของ turbojet ถูกกำหนดโดย F N = ( m ˙ a i r + m ˙ f u e l ) v e − m ˙ a i r v {\displaystyle F_{N}=({\dot {m}}_{air}+{\dot {m}}_{fuel})v_{e}-{\dot {m}}_{air}v} สมการข้างต้นใช้เฉพาะสำหรับเครื่องยนต์ไอพ่นใช้อากาศหายใจเท่านั้น. มันไม่ได้นำไปใช้กับเครื่องยนต์จรวด. เกือบทุกประเภทของเครื่องยนต์เจ็ทมีช่องอากาศเข้า, ซึ่งเป็นช่องที่ของของไหลจำนวนมากออกจากไอเสีย. อย่างไรก็ตาม เครื่องยนต์จรวดธรรมดาไม่ได้มีช่องเข้า, ทั้งตัวสร้างอ๊อกซิเจน (อังกฤษ: oxidizer) และเชื้อเพลิงถูกบรรทุกไปกับยาน. เพราะฉะนั้นเครื่องยนต์จรวดไม่มีแรงต้านแรม (อังกฤษ: ram drag) และแรงผลักรวมของหัวฉีดเครื่องยนต์จรวดเป็นแรงผลักสุทธิของเครื่องยนต์. ผลก็คือ, ลักษณะของแรงผลักของมอเตอร์จรวดจะมีความแตกต่างจากส่วนที่เป็นของเครื่องยนต์เจ็ทใช้หายใจ, และแรงผลักเป็นอิสระจากความเร็ว. ถ้าความเร็วของไอพ่นจากเครื่องยนต์เจ็ทจะมีค่าเท่ากับความเร็วเสียง, หัวฉีดของเครื่องยนต์เจ็ทจะถูกเรียกว่ามันสำลัก. ถ้าหัวฉีดสำลัก, ความดันที่หัวฉีดที่ออกจากเครื่องบินจะมีค่ามากกว่าความดันบรรยากาศ, และเงื่อนไขพิเศษจะต้องถูกเพิ่มเข้าไปในสมการข้างต้นเพื่อนำมาคำนวณสำหรับแรงผลักของความดัน. อัตราการไหลของเชื้อเพลิงที่เข้าเครื่องยนต์มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับอัตราการไหลของอากาศ. ถ้าการมีส่วนร่วมของเชื้อเพลิงที่ให้กับแรงผลักรวมของหัวฉีดไม่ถูกนำมาพิจารณา, แรงผลักสุทธิจะเป็น: F N = m ˙ a i r ( v e − v ) {\displaystyle F_{N}={\dot {m}}_{air}(v_{e}-v)} ความเร็วของไอพ่น (ve) ต้องมีค่ามากกว่าความเร็วอากาศจริงของอากาศยาน (v) ถ้าจำเป็นต้องมีแรงผลักไปข้างหน้าบนอากาศยาน. ความเร็ว (ve) สามารถคำนวณแบบ thermodynamic ที่มีพื้นฐานจาก adiabatic expansion. แรงผลักจากไอพ่นสามารถทำให้เพิ่มขึ้นได้โดยการฉีดของเหลวเพิ่มเติม ซึ่งจะถูกเรียกว่า แรงผลักเปียก[โปรดขยายความ]. เครื่องยนต์ในช่วงต้นและเครื่องยนต์ไม่ทำงานหลังสันดาป (อังกฤษ: non-afterburning engine)ในปัจจุบันบางเครื่องใช้น้ำฉีดเพื่อเพิ่มแรงผลักชั่วคราว. น้ำถูกฉีดที่ช่องเข้าของตัวอัดอากาศหรือตัวกระจาย (อังกฤษ: diffuser) เพื่อหล่อเย็นอากาศที่ถูกบีบอัดซึ่งเป็นการเพิ่มความดันสำหรับการเผาไหม้ที่อุณหภูมิสูงขึ้น. แรงผลักสามารถเพิ่มขึ้นได้ประมาณ 10-30%. เมธิลหรือเอทิลแอลกอฮอล์ (หรือส่วนผสมอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างกับน้ำ) ได้ถูกนำมาใช้ในอดีตสำหรับการฉีด. อย่างไรก็ตาม น้ำมีไอร้อนของการระเหยที่สูงขึ้น เพราะฉะนั้น ของเหลวเท่านั้นที่ถูกใช้โดยทั่วไปสำหรับการเสริมแรงผลักในวันนี้. เครื่องยนต์รบทางทหารในวันนี้ใช้ตัว afterburner เพื่อเพิ่มแรงผลัก. ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ( η {\displaystyle \eta } ) ของเครื่องยนต์เจ็ทที่ติดตั้งในยานพาหนะมีสององค์ประกอบหลัก ได้แก่ ประสิทธิภาพของแรงผลักดัน(อังกฤษ: propulsive efficiency) ( η p {\displaystyle \eta _{p}} ): ปริมาณพลังงานของไอพ่นมีมากเท่าไรที่สิ้นสุดลงในร่างกายของยานพาหนะแทนที่จะถูกปล่อยทิ้งออกไปเป็นพลังงานจลน์ของไอพ่น ประสิทธิภาพของวงรอบ(อังกฤษ: cycle efficiency) ( η v e {\displaystyle \eta _{v_{e}}} ): ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์เป็นอย่างไรที่จะสามารถเร่งความเร็วของไอพ่นได้ แม้ว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยรวม = η {\displaystyle \eta } เป็นเพียง: η = η p η v e {\displaystyle \eta =\eta _{p}\eta _{v_{e}}} สำหรับเครื่องยนต์เจ็ททั้งหมด ประสิทธิภาพของแรงผลักดันจะมีค่าสูงสุดเมื่อเครื่องยนต์ปล่อยไอเสียที่ความเร็วหนึ่งที่เท่ากับหรือใกล้เคียงกับความเร็วของยานพาหนะ เพราะสิ่งนี้ให้พลังงานจลน์ที่เหลือค้างอยู่มีค่าน้อยที่สุด. สูตรสำหรับเครื่องยนต์ที่ใช้อากาศหายใจที่กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v {\displaystyle v} ที่มีความเร็วไอเสีย v e {\displaystyle v_{e}} และตัดทิ้งการไหลของเชื้อเพลิงเป็น: η p = 2 1 + v e v {\displaystyle \eta _{p}={\frac {2}{1+{\frac {v_{e}}{v}}}}} และสำหรับจรวด: η p = 2 ( v v e ) 1 + ( v v e ) 2 {\displaystyle \eta _{p}={\frac {2\,({\frac {v}{v_{e}}})}{1+({\frac {v}{v_{e}}})^{2}}}} นอกเหนือไปจากประสิทธิภาพของแรงขับดัน, ปัจจัยอื่นได้แก่ ประสิทธิภาพของวงรอบ; เป็นความสำคัญเนื่องจากเครื่องยนต์เจ็ทโดยทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบของเครื่องจักรความร้อน. ประสิทธิภาพความร้อนของเครื่องยนต์จะถูกกำหนดโดยอัตราส่วนของอุณหภูมิในเครื่องยนต์ที่ถึงจุดที่เป็นไอพ่นที่ปลายหัวฉีด, ซึ่งจะถูกจำกัดด้วยอัตราส่วนความดันโดยรวมที่สามารถทำได้. ประสิทธิภาพของวงรอบจะมีค่าสูงที่สุดในเครื่องยนต์จรวด (~ 60% +), เมื่อพวกมันสามารถบรรลุอุณหภูมิการเผาไหม้ที่สูงสุดขั้ว. ประสิทธิภาพของวงรอบใน turbojet และเครื่องที่คล้ายกันคือใกล้กว่า 30%, เนื่องจากอุณหภูมิรอบสูงสุดที่ต่ำกว่ามาก. ประสิทธิภาพการเผาไหม้ของอากาศยานเครื่องยนต์กังหันก๊าซส่วนใหญ่ในระหว่างการ takeoff ที่ระดับน้ำทะเลจะเป็นเกือบ 100%. มันลดลงอย่างไม่เป็นเชิงเส้นที่ 98% ในระหว่างการบินล่องลม. อัตราส่วนระหว่างอากาศ-เชื้อเพลิงอยู่ในช่วง 50:1 ถึง 130:1. สำหรับห้องเผาไหม้ประเภทใดๆ, จะขีดจำกัดแบบอุดมและอ่อนแอของอัตราส่วนอากาศ-เชื้อเพลิง, ไกลเกินกว่าที่เปลวไฟจะถูกดับได้. ช่วงของอัตราส่วนอากาศ-เชื้อเพลิงระหว่างขีดจำกัดที่อุดมและอ่อนแอจะลดลงด้วยการเพิ่มขึ้นของความเร็วลม. ถ้าการเพิ่มของการไหลของมวลอากาศไปลดอัตราส่วนเชื้อเพลิงให้ต่ำกว่าค่าบางอย่าง, เปลวไฟก็จะดับไป. ในอากาศยานกังหัน, อัตราส่วนเชื้อเพลิงปกติจะน้อยกว่าอัตราเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดถึง 15%. เพราะฉะนั้น, เพียงส่วนหนึ่งของอากาศเท่านั้นที่จะถูกนำมาใช้ในกระบวนการเผาไหม้. ส่วนของเชื้อเพลิงไม่ได้ถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์, มีการปล่อยส่วนผสมของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์, เขม่า, และสารไฮโดรคาร์บอนไว้ข้างหลัง. ในขณะที่ไม่เคลื่อนที่ ของเสียเหล่านี้มีปริมาณถึง 50-2000 ppm (parts per million) และลดลงในระหว่างการล่องลมที่ 1-50 ppm. นั่นคือเหตุผลที่อากาศรอบๆสนามบินจึงเลวร้าย. . แนวคิดเพื่อประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด (แต่แตกต่างกัน) คืออัตราของการบริโภคของสารขับเคลื่อน (อังกฤษ: propellant). การบริโภคสารขับเคลื่อนในเครื่องยนต์เจ็ตสามารถวัดได้จาก'การบริโภคเชื้อเพลิงเฉพาะ' (อังกฤษ: Specific Fuel Consumption), 'แรงกระตุ้นเฉพาะ' (อังกฤษ: Specific impulse), หรือ'ความเร็วไอเสียที่มีประสิทธิภาพ' (อังกฤษ: Effective exhaust velocity). ทั้งหมดนี้เป็นการวัดในสิ่งเดียวกัน. แรงกระตุ้นเฉพาะและความเร็วไอเสียที่มีประสิทธิภาพเป็นสัดส่วนโดยตรงอย่างเคร่งครัด, ในขณะที่การบริโภคน้ำมันเชื้อเพลิงเฉพาะเป็นสัดส่วนผกผันกับตัวอื่นๆ. สำหรับเครื่องยนต์แบบ airbreathing เช่น turbojets, ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและประสิทธิภาพสารขับเคลื่อน (เชื้อเพลิง) เป็นสิ่งเดียวกันอย่างมาก, เนื่องจากสารขับเคลื่อนเป็นเชื้อเพลิงและแหล่งที่มาของพลังงานอย่างหนึ่ง. ในระบบจรวด, สารขับเคลื่อนยังเป็นไอเสีย, และนี่หมายความว่าสารขับเคลื่อนพลังงานสูงให้ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนที่ดีกว่า แต่ในบางกรณีย้งสามารถให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่"ลดลง"จริงๆอีกด้วย. ตามตารางด้านล่าง ที่ turbofans ต่ำกว่าเสียงเช่น CF6 turbofan ของ General Electric ใช้เชื้อเพลิงในการสร้างแรงผลักดันแค่หนึ่งวินาทีน้อยกว่าที่ Rolls-Royce / Snecma Olympus 593 turbojet ของคองคอร์ดใช้ทำอย่างเดียวกันมาก. อย่างไรก็ตามเนื่องจากพลังงานเป็นผลคูณระหว่างแรงกับระยะทางและระยะทางต่อวินาทีมีค่ามากกว่าสำหรับคองคอร์ด, กำลังที่สร้างขึ้นจริงจากเครื่องยนต์ที่กินเชื้อเพลิงเท่ากันสำหรับคองคอร์ดที่มัค 2 จึงสูงกว่า CF6. ดังนั้นเครื่องยนต์ของคองคอร์ดจึงมีประสิทธิภาพมากกว่าในแง่ของแรงผลักดันต่อไมล์. บทความหลัก: Thrust-to-weight ratio อัตราส่วนแรงผลักดันต่อน้ำหนักของเครื่องยนต์เจ็ทจะค่อนข้างแตกต่างกันที่ขนาด, แต่ส่วนใหญ่จะแตกต่างกันที่หน้าที่การทำงานของเทคโนโลยีการก่อสร้างเครื่องยนต์. ชัดเจนสำหรับเครื่องยนต์ที่กำหนด, เครื่องยนต์ยิ่งเบา, อัตราส่วนแรงผลักดันต่อน้ำหนักก็ยิ่งดี, เชื้อเพลิงก็ใช้น้อยในการชดเชยแรงต้านจากแรงยกที่จำเป็นในการแบกน้ำหนักเครื่องยนต์, หรือเพื่อเร่งมวลของเครื่องยนต์. ตามตารางต่อไปนี้, เครื่องยนต์จรวดทั่วไปบรรลุอัตราส่วนแรงผลักดันต่อน้ำหนักสูงกว่าเครื่องยนต์แบบใช้ท่อเช่นเครื่องยนต์แบบ turbojet และ turbofan มาก. เบื้องต้นเป็นเพราะจรวดเกือบทั่วไปจะใช้ของเหลวหนาแน่นหรือมวลปฏิกิริยาของแข็งซึ่งจะให้ปริมาตรขนาดเล็กกว่ามากและด้วยเหตุนี้ระบบแรงดันที่จ่ายให้หัวฉีดจึงมีขนาดเล็กกว่าและน้ำหนักเบากว่ามากเพื่อให้ได้ผลการทำงานเดียวกัน. เครื่องยนต์แบบใช้ท่อต้องจัดการกับอากาศที่มีขนาดความหนาแน่นน้อยกว่าสองหรือสามเท่าและมันยังต้องให้แรงกดดันตลอดพื้นที่ขนาดใหญ่มากกว่า, ซึ่งมีผลในวิศวกรรมวัสดุมากกว่าที่จำเป็นในการยึดเครื่องยนต์ไว้ร่วมกันและสำหรับเครื่องอัดอากาศ แรงขับของจรวดเป็นแรงขับแบบสูญญากาศถ้าไม่ได้บอกว่าเป็นอย่างอื่น เครื่องยนต์ใบพัดจะมีประโยชน์สำหรับการเปรียบเทียบ. พวกมันสามารถเร่งมวลอากาศขนาดใหญ่ แต่ด้วยความเร็วที่มีการเปลี่ยนแปลงสูงสุดค่อนข้างน้อย. ความเร็วที่ต่ำนี้จำกัดแรงผลักดันสูงสุดของเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยใบพัดใดๆ. อย่างไรก็ตาม เพราะพวกมันเร่งมวลอากาศขนาดใหญ่, เครื่องยนต์ใบพัด, เช่น turboprops, สามารถมีประสิทธิภาพมาก. ในทางตรงกันข้าม, turbojets สามารถเร่งมวลขนาดเล็กมากของอากาศเข้าและเชื้อเพลิงที่ถูกเผาไหม้, แต่พวกมันปล่อยไอพ่นออกมาที่ความเร็วสูงมากซึ่งสามารถทำได้โดยใช้หัวฉีดแบบเดอวาล (อังกฤษ: de Laval nozzle) เพื่อเร่งไอเสียของเครื่องยนต์. นี่คือเหตุผลที่ว่าทำไมพวกมันจึงเหมาะสำหรับเครื่องบินเดินทางด้วยความเร็วเหนือเสียงและสูงกว่า. turbofans มีไอเสียผสมที่ประกอบด้วยอากาศบายพาสและผลิตภัณฑ์ก๊าซเผาไหม้ร้อนจากเครื่องยนต์หลัก. ปริมาณอากาศที่บายพาสเครื่องยนต์หลักเมื่อเทียบกับปริมาณอากาศที่ไหลเข้าไปในเครื่องยนต์จะเป็นตัวกำหนดสิ่งที่เรียกว่าอัตราการบายพาส (อังกฤษ: bypass ratio (BPR)) ของ turbofan. ในขณะที่เครื่องยนต์ turbojet ใช้กำลังของเครื่องยนต์ทั้งหมดไปในการผลิตแรงผลักดันในรูปแบบของก๊าซไอเสียเจ็ทร้อนความเร็วสูง, อากาศบายพาสความเร็วต่ำที่เย็นของ turbofan ให้ผลผลิตระหว่าง 30% ถึง 70% ของแรงผลักดันทั้งหมดที่ผลิตโดยระบบ turbofan. แรงผลักดันสุทธิ (FN) ที่สร้างโดย turbofan มีค่าเท่ากับ: F N = m ˙ e v e − m ˙ o v o + B P R ( m ˙ c v f ) {\displaystyle F_{N}={\dot {m}}_{e}v_{e}-{\dot {m}}_{o}v_{o}+BPR\,({\dot {m}}_{c}v_{f})} เมื่อ: เครื่องยนต์จรวดมีไอเสียที่ความเร็วสูงอย่างยิ่งยวด ดังนั้นมันจึงเหมาะสมที่สุดสำหรับความเร็วสูง (เหนือเสียง)และระดับความสูงที่สูงมากๆ. ในขนาดของหัวฉีดที่กำหนด, แรงผลักดันและประสิทธิภาพของมอเตอร์จรวดจะดีขึ้นเล็กน้อยกับการเพิ่มระดับความสูงของการบิน (เพราะว่า แรงอัดกลับหลังตกลงซึ่งทำให้เป็นการเพิ่มแรงผลักดันรวมที่ปลายหัวฉีดพ่นออก), ในขณะที่ด้วยเครื่อง turbojet (หรือ turbofan) การตกลงของความหนาแน่นอากาศที่กำลังเข้าที่ช่องทางเข้า (และอากาศร้อนที่หัวฉีด) ทำให้แรงผลักดันรวมลดลงเมื่อระดับการบินสูงขึ้น. เครื่องยนต์จรวดจะมีประสิทธิภาพมากกว่าแม้แต่กับสแครมเจ็ทที่ความเร็วประมาณมัค 15. ด้วยข้อยกเว้นของ scramjets, เครื่องยนต์เจ็ทที่ปราศจากระบบการไหลเข้าสามารถรับอากาศที่มีความเร็วประมาณครึ่งหนึ่งของความเร็วของเสียงเท่านั้น. หน้าที่ของระบบท่อเข้าสำหรับเครื่องบินเร็วเท่าเสียงและเหนือเสียงคือการชะลออากาศและดำเนินการบางอย่างของการบีบอัด. จำกัดบนระดับความสูงสุดสำหรับเครื่องยนต์ถูกกำหนดโดยความสามารถในการติดไฟ (อังกฤษ: flammability) - ในระดับที่สูงมากอากาศจะบางเกินไปที่จะเผาไหม้, หรือหลังจากการบีบอัด, ก็ร้อนเกินไป. สำหรับเครื่องยนต์ turbojet ระดับความสูงประมาณ 40 กิโลเมตรดูเหมือนจะเป็นไปได้, ในขณะที่สำหรับเครื่องยนต์แรมเจ็ท 55 กิโลเมตรอาจจะทำได้. scramjets ในทางทฤษฎีอาจสามารถจัดการที่ 75 กม. เครื่องยนต์จรวดแน่นอนไม่มีขีดจำกัดเรื่องความสูง. ที่ระดับความสูงไม่มากนัก, การบินที่เร็วจะบีบอัดอากาศที่ด้านหน้าของเครื่องยนต์และสิ่งนี้ยิ่งเพิ่มความร้อนให้อากาศอย่างมาก. ขีดจำกัดด้านบนมักจะอยู่ที่ประมาณมัค 5-8, ตามตัวอย่างข้างบนประมาณมัค 5.5, ไนโตรเจนในชั้นบรรยากาศมีแนวโน้มที่จะมีปฏิกิริยาเนื่องจากอุณหภูมิสูงที่ทางเข้าและสิ่งนี้สิ้นเปลืองพลังงานอย่างมีนัยสำคัญ. ข้อยกเว้นสำหรับเรื่องนี้เป็น scramjets ซึ่งอาจจะสามารถที่จะประสบความสำเร็จประมาณมัค 15 หรือมากกว่า[ต้องการอ้างอิง], ขณะที่พวกมันหลีกเลี่ยงการชะลออากาศ, และอีกครั้งจรวดไม่มีการจำกัดความเร็ว. เสียงที่ถูกปล่อยออกมาจากเครื่องยนต์เจ็ทมีที่มาหลายแหล่ง, รวมถึง, ในกรณีของเครื่องยนต์กังหันก๊าซ, พัดลม, คอมเพรสเซอร์, เตาเผา, กังหันและตัวขับเจ็ท. เครื่องยนต์เจ็ทผลิตเสียงที่เกิดจากการผสมที่รุนแรงของเจ็ทความเร็วสูงกับอากาศโดยรอบ. ในกรณีที่ความเร็วต่ำกว่าเสียง, เสียงรบกวนมีการผลิตโดยกระแสอากาศไหลวนและในกรณีที่ความเร็วเหนือเสียงโดยคลื่นมัค (อังกฤษ: Mach wave). พลังเสียงที่แผ่ออกมาจากเจ็ทแปรตามความเร็วของเจ็ทยกกำลังแปดสำหรับความเร็วสูงถึง 2,000 ฟุต/วินาทีและแปรตามความเร็ว cubed ที่สูงกว่า 2,000 ฟุต/วินาที. ดังนั้นไอพ่นความเร็วต่ำกว่าจะปล่อยเสียงออกมาจากเครื่องยนต์เช่น turbofans แบบบายพาสสูงจะเงียบที่สุด, ในขณะที่เจ็ทที่เร็วที่สุดเช่นจรวด, turbojets, และ ramjets จะดังที่สุด. สำหรับเครื่องบินเจ็ทเชิงพาณิชย์, เสียงรบกวนจากไอพ่นได้ลดลงจาก turbojet ผ่านทางเครื่องยนต์บายพาสไปที่ turbofans เป็นผลมาจากการลดอย่างก้าวหน้าในความเร็วของเครื่องเจ็ท. ตัวอย่างเช่น JT8D, เครื่องยนต์บายพาส, มีความเร็วเจ็ทที่ 1,450 ฟุต/วินาทีในขณะที่ JT9D, turbofan, มีความเร็วของเจ็ทที่ 885 ฟุต/วินาที (แบบเย็น) และ 1,190 ฟุต/วินาที (แบบร้อน). การปรากฏตัวของ turbofan มาแทนที่เสียงไอพ่นที่โดดเด่นมากด้วยเสียงอื่นที่รู้จักกันว่าเป็นเสียงรบกวนแบบ "เสียงเลื่อย" (อังกฤษ: buzz saw). ที่มาของมันเป็นคลื่นกระแทกที่เกิดขึ้นที่ใบพัดลมที่มีความเร็วเหนือเสียงในขณะ takeoff. "ch10-3". Hq.nasa.gov. Retrieved 2010-03-26. Mattingly, Jack D. (2006). Elements of Propulsion: Gas Turbines and Rockets. AIAA Education Series. Reston, VA: American Institute of Aeronautics and Astronautics. p. 6. ISBN 1-56347-779-3.  Mattingly, pp. 6-8 Mattingly, pp. 9-11 Mattingly, p. 12 Sweetman, Bill (2005). The Short, Happy Life of the Prop-fan. Air & Space Magazine. 1 September 2005. Mattingly, p. 14 *Flack, Ronald D. (2005). Fundamentals of Jet Propulsion with Applications. Cambridge Aerospace Series. New York, NY: Cambridge University Press. p. 16. ISBN 978-0-521-81983-1.  Benson, Tom. Ramjet Propulsion. NASA Glenn Research Center. Updated: 11 July 2008. Retrieved: 23 July 2010. Heiser, William H.; Pratt, David T. (1994). Hypersonic Airbreathing Propulsion. AIAA Education Series. Washington, D.C.: American Institute of Aeronautics and Astronautics. pp. 23–4. ISBN 1-56347-035-7.  X-51 Waverider makes historic hypersonic flight. United States Air Force. 26 May 2010. Retrieved: 23 July 2010. "Rocket Thrust Equation". Grc.nasa.gov. 2008-07-11. สืบค้นเมื่อ 2010-03-26.  GFC Rogers, and Cohen, H. Gas Turbine Theory, p.108 (5th Edition), HIH Saravanamuttoo Rocket propulsion elements, Sutton, Biblarz- table 3-1 Nicholas Cumpsty (2003). Jet Propulsion (2nd ed.). Cambridge University Press. ISBN 0-521-54144-1.  16.Unified: Thermodynamics and Propulsion, Prof. Z. S. Spakovszky. Scroll down to "Performance of Turbojet Engines, Section 11.6.4. (Obtained from the website of the Massachusetts Institute of Technology) หมายเหตุ: ในพลังงานจลน์ด้านกลศาสตร์แบบนิวตันจะขึ้นอยู่กับกรอบ. พลังงานจลน์จะง่ายที่สุดในการคำนวณเมื่อความเร็วถูกวัดใน"ศูนย์กลางของกรอบมวลของยานพาหนะและ (ไม่ค่อยชัดเจนว่า)"มวลปฏิกิริยา"  /  อากาศ (เช่นกรอบที่นิ่ง ก่อน การ takeoff จะเริ่ม "Jet Propulsion" Nicholas Cumpsty ISBN 0 521 59674 2 p24 George P. Sutton and Oscar Biblarz (2001). Rocket Propulsion Elements (7th Edition ed.). John Wiley & Sons. pp. 37–38. ISBN 0-471-32642-9.  Claire Soares, "Gas Turbines: A Handbook of Air, Land and Sea Applications", pp. 140. Klaus Huenecke, "Die Technik des modernen Verkehrsflugzeuges", pp. 111-117. http://www.astronautix.com/engines/nk33.htm http://www.astronautix.com/engines/ssme.htm "Data on Large Turbofan Engines". Aircraft Aerodynamics and Design Group. Stanford University. Retrieved 22 December 2009. "Data on Large Turbofan Engines". Aircraft Aerodynamics and Design Group. Stanford University. Retrieved 22 December 2009. "Data on Large Turbofan Engines". Aircraft Aerodynamics and Design Group. Stanford University. Retrieved 22 December 2009. Wade, Mark. "RD-0410". Encyclopedia Astronautica. Retrieved 2009-09-25. "«Konstruktorskoe Buro Khimavtomatiky» - Scientific-Research Complex / RD0410. Nuclear Rocket Engine. Advanced launch vehicles". KBKhA - Chemical Automatics Design Bureau. Retrieved 2009-09-25. Aircraft: Lockheed SR-71A Blackbird "Factsheets : Pratt & Whitney J58 Turbojet". National Museum of the United States Air Force. Retrieved 2010-04-15. "Rolls-Royce SNECMA Olympus - Jane's Transport News". Retrieved 2009-09-25. "With afterburner, reverser and nozzle ... 3,175 kg ... Afterburner ... 169.2 kN" Military Jet Engine Acquisition, RAND, 2002 "«Konstruktorskoe Buro Khimavtomatiky» - Scientific-Research Complex / RD0750.". KBKhA - Chemical Automatics Design Bureau. Retrieved 2009-09-25. Wade, Mark. "RD-0410". Encyclopedia Astronautica. Retrieved 2009-09-25. http://www.astronautix.com/engines/ssme.htm http://www.astronautix.com/engines/rd180.htm Retrieved 2009-09-25. http://www.astronautix.com/engines/f1.htm http://www.astronautix.com/engines/nk33.htm Federal Aviation Administration (FAA) (2004). FAA-H-8083-3B Airplane Flying Handbook Handbook. Federal Aviation Administration.  Turbofan Thrust, Glenn Research Center, National Aeronautics and Space Administration (NASA) "Microsoft PowerPoint - KTHhigspeed08.ppt" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2010-03-26.  "Scramjet". Orbitalvector.com. 2002-07-30. สืบค้นเมื่อ 2010-03-26.  "Softly, softly towards the quiet jet" Michael J. T. Smith New Scientist 19 February 1970 p350 "Silencing the sources of jet noise" Dr David Crighton New Scientist 27 July 1972 p185 "Noise" I.C. Cheeseman Flight International 16 April 1970 p639 "The Aircraft Gas Turbine Engine and its operation" United Technologies Pratt & Whitney Part No. P&W 182408 December 1982 Sea level static internal pressures and temperatures p219/220 'Quietening a Quiet Engine- The RB211 Demonstrator Programme" M. J. T. Smith SAE paper 760897 "Intake Noise Suppression" p5 บทความเกี่ยวกับเทคโนโลยี หรือ สิ่งประดิษฐ์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ชนิด คำอธิบาย ข้อดี ข้อเสีย motor jet เป็นชนิดที่เลิกใช้งานแล้วที่ทำงานคล้ายกับเทอร์โบเจ็ท แต่แทนที่จะใช้กังหันขับ compressor แต่ใช้ลูกสูบแทน สร้างไอพ่นความเร็วสูงกว่าแบบใบพัด, ให้แรงผลักดีกว่าที่ความเร็วสูง น้ำหนักมาก, ประสิทธิภาพต่ำและได้กำลังต่ำ. ยกตัวอย่าง Caproni Campini N.1 Pulsejet อากาศถูกอัดและเผาไหม้เป็นระยะๆแทนการเผาไหม้อย่างต่อเนื่อง. บางรูปแบบมีการใช้วาล์วด้วย เป็นการออกแบบที่ธรรมดามาก, ใช้ทั่วไปกับอากาศยานต้นแบบ เสียงดัง, ประสิทธิภาพต่ำ (อัตราส่วนการอัดต่ำ), ทำงานได้ไม่ดีเมื่อมีขนาดใหญ่, วาล์วในแบบที่ใช้วาล์วมีการสึกหรอเร็ว Pulse detonation คล้ายกับพัลส์เจ็ท, แต่การเผาไหม้จะเป็นแบบการระเบิดรุนแรง (อังกฤษ: detonation) แทนที่จะเป็นการเผาใหม้แบบ deflagration, อาจจะมีหรือไม่มีวาล์วก็ได้ มีประสิทธิภาพเครื่องยนต์สูงสุดในทางทฤษฎี เสียงดังมากๆ, ชิ้นส่วนเกิดความล้าทางกล (อังกฤษ: mechanical fatigue) สูง , การเริ่มต้น detonation ยาก, ยังไม่มีการนำมาใช้งานจริง ประเภท คำอธิบาย ข้อดี ข้อเสีย จรวด บรรทุกเชื้อเพลิงและสารผลิตอ๊อกซิเจนทั้งหมดไปบนเครื่อง, ปล่อยไอพ่นออกมาเพื่อผลักดัน มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหวไม่กี่ชิ้น, Mach 0 ถึง Mach 25+, ประสิทธิภาพสูงที่ความเร็วสูง(> Mach 5.0 หรือกว่านั้น), อัตราส่วนของแรงผลัก/น้ำหนักมากกว่า 100, ไม่มีช่องอากาศเข้าที่ซับซ้อน, อัตราส่วนแรงอัดสูง, ความเร็วไอพ่นสูงมาก (เร็วกว่าเสียง), อัตราส่วนค่าใช้จ่าย/แรงผลักดี, ค่อนข้างง่ายในการทดสอบ, ทำงานในสูญญากาศหรือนอกบรรยากาศของโลกได้ดีที่สุดซึ่งนุ่มนวลกว่าบนโครงสร้างยานที่ความเร็วสูง, พื้นที่ผิวหน้าค่อนข้างเล็กเพื่อรักษาความเย็น, และไม่มีกังหันในสายธารไอพ่นร้อน. เผาใหม้ที่อุณหภูมิสูงมากและอัตราส่วนการขยายตัวของหัวฉีดที่สูงทำให้มีปรธสิทธิภาพที่สูงมากที่ความเร็วสูงมากๆ ต้องใช้เชื้อเพลิงจำนวนมาก - specific impulse ที่ต่ำมากๆ — ราว 100–450 วินาที. แรงเค้นด้านอุณหภูมิของห้องเผาใหม้ที่สูงอย่างยิ่งยวดทำให้การนำกลับมาใช้ใหม่ทำได้ยากกว่า. ทั่วไปแล้วต้องบรรทุกตัวทำอ็อกซิเจนไปบนเครื่องซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยง. มีเสียงดังเกินกว่าปกติ. ประเภท คำอธิบาย ข้อดี ข้อเสีย Turborocket turbojet ที่ติดตั้งตัว oxidizer เช่น oxygen ผสมกับกระแสอากาศเพื่อเพิ่มความสูงเต็มที่ ใกล้กับการออกแบบเดิมอยู่มาก, ทำงานที่ระดับความสูงมากๆ, พิสัยของความสูงและความเร็วอากาศที่กว้าง ความเร็วอากาศถูกจำกัดที่พิสัยเดียวกันกับเครื่องยนต์ turbojet, การบรรทุกตัว oxidizer เช่น LOX อาจเป็นอันตราย. หนักกว่าจรวดธรรมดามาก. Air-augmented rocket ที่สำคัญเป็น ramjet ที่อากาศไหลเข้าถูกบีบอัดและเผาใหม้ด้วยไอพ่นจากจรวด ความเร็วจากมัค 0 ถึงมัค 4.5+ (สามารถวิ่งนอกบรรยากาศได้ด้วย), ประสิทธิภาพดีที่มัค 2 ถึงมัค 4 ประสิทธิภาพคคล้ายกับของจรวดที่ความเร็วต่ำหรือนอกบรรยากาศ, ช่องอากาศเข้ายุ่งยาก, เป็นประเภทที่ค่อนข้างไม่ได้รับการพัฒนาและไม่ได้รับความสนใจ, การระบายความร้อนยุ่งยาก, เสียงดังมาก, อัตราส่วนแรงผลัก/น้ำหนักคล้ายกับของ ramjets. Precooled jet engine/Liquid air cycle engine (LACE) อากาศเข้าถูกทำให้เย็นที่อุณหภูมิต่ำมากๆที่ทางเข้าในตัวแลกเปลี่ยนความร้อน (อังกฤษ: heat exchanger) ก่อนผ่านไปยัง ramjet และ/หรือ turbojet และ/หรือเครื่องยนต์จรวด. ทดสอบบนพื้นดินได้ง่าย. อัตราส่วนแรงผลัก/น้ำหนัก ~14 พร้อมด้วยประสิทธิภาพด้านเชื้อเพลิงที่ดีตลอดพิสัยที่กว้างของความเร็วอากาศ, มัค 0 ถึง 5.5+; การผสมกันของประสิทธิภาพหลายอย่างอาจทการบินขึนสู่วงโคจร, หรือการเดินทางระหว่างทวีประยะทางไกลระยะเดียวได้รวดเร็วมาก ยังคงอยู่ในขั้นต้นแบบเท่านั้น. ตัวอย่างเช่น RB545, Reaction Engines SABRE, ATREX. ต้องใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเหลวซึ่งมีความเข้มข้นต่ำมากและต้องการถังเก็บที่ป้องกันความร้อนขนาดใหญ่มาก. ประเภท คำอธิบาย ข้อดี ข้อเสีย Water jet เพื่อขับเคลื่อน water rockets และ jetboats; พ่นน้ำออกทางด้านหลังทางหัวพ่น ในเรือ, สามารถวิ่งในน้ำตื้นได้, ความเร่งสูง, ไม่มีความเสี่ยงเรื่องเครื่อง overload (ไม่เหมือนใบพัด), เสียงดังและลำตัวสั่นน้อย, ควบคุมการเปลี่ยนทิศทางได้ทุกความเร็วเรือ, ประสิทธิภาพด้านความเร็วสูง, เสียหายจากเศษเล็กเศษน้อยได้ยาก, เขื่อถือได้มาก, ยืดหยุ่นต่อน้ำหนักบรรทุกได้ดีกว่า, ทำอันตรายต่อสัตว์ป่าได้น้อย อาจมีประสิทธิภาพต่ำกว่าเครื่องใบพัดที่ความเร็วต่ำ, แพงกว่า, น้ำหนักบนเรือสูงกว่าเนื่องจากน้ำที่ไหลเข้า, อาจทำงานได้ไม่ดีถ้าเรือมีน้ำหนักมากกว่าขนาดของเจ็ทที่ติดตั้ง เมื่อ:   ṁ air = อัตรามวลของอากาศที่ไหลผ่านเครื่องยนต์ ṁ fuel = อัตรามวลของเชื้อเพลิงที่ไหลเข้าเครื่องยนต์ ve = ความเร็วของไอพ่น (ไอเสีย)และคาดว่าจะต่ำกว่าความเร็วเสียง v = ความเร็วของอากาศไหลเข้า = ความเร็วอากาศจริงของอากาศยาน (ṁ air + ṁ fuel)ve = แรงผลักรวมที่หัวฉีด (FG) ṁ air v = แรงต้านจาก ram ของอากาศไหลเข้า ประเภทเครื่องยนต์ Scenario SFC in lb/(lbf·h) SFC in g/(kN·s) Specific impulse (s) Effective exhaust velocity (m/s) NK-33 rocket engine Vacuum 10.9 309 331 3,240 SSME rocket engine Space shuttle Vacuum 7.95 225 453 4,423 Ramjet Mach 1 4.5 127 800 7,877 J-58 turbojet SR-71 at Mach 3.2 (Wet) 1.9 53.8 1,900 18,587 Rolls-Royce/Snecma Olympus 593 Concorde Mach 2 cruise (Dry) 1.195 33.8 3,012 29,553 CF6-80C2B1F turbofan Boeing 747-400 cruise 0.605 17.1 5,950 58,400 General Electric CF6 turbofan Sea level 0.307 8.696 11,700 115,000 Jet or Rocket engine Mass (kg) Mass (lb) Thrust (kN) Thrust (lbf) Thrust-to-weight ratio RD-0410 nuclear rocket engine 2,000 4,400 35.2 7,900 1.8 J58 jet engine (SR-71 Blackbird) 2,722 6,001 150 34,000 5.2 Rolls-Royce/Snecma Olympus 593 turbojet with reheat (Concorde) 3,175 7,000 169.2 38,000 5.4 Pratt & Whitney F119 1,800 3,900 91 20,500 7.95 RD-0750 rocket engine, three-propellant mode 4,621 10,188 1,413 318,000 31.2 RD-0146 rocket engine 260 570 98 22,000 38.4 SSME rocket engine (Space Shuttle) 3,177 7,004 2,278 512,000 73.1 RD-180 rocket engine 5,393 11,890 4,152 933,000 78.5 RD-170 rocket engine 9,750 21,500 7,887 1,773,000 82.5 F-1 (Saturn V first stage) 8,391 18,499 7,740.5 1,740,100 94.1 NK-33 rocket engine 1,222 2,694 1,638 368,000 136.7 Merlin 1D rocket engine[ต้องการอ้างอิง] 440 970 690 160,000 159.9 ṁ e = อัตรามวลของกระแสไอเสียเผาใหม้ร้อนจากแกนของเครื่องยนต์ ṁo = อัตรามวลของกระแสอากาศรวมที่ไหลเข้าเครื่อง turbofan = ṁc + ṁf ṁc = อัตรามวลของอากาศไหลเข้าที่แกนของเครื่องยนต์ ṁf = อัตรามวลของกระแสอากาศไหลเข้าที่บายพาสหรือไม่ผ่านแกนของเครื่องยนต์ vf = ความเร็วของกระแสอากาศที่ถูกบายพาสรอบๆเครื่องยนต์ ve = ความเร็วของแก๊สเสียร้อนจากแกนของเครื่องยนต์ vo = ความเร็วของอากาศไหลเข้าทั้งหมด = ความเร็วอากาศจริงของอากาศยาน BPR = Bypass Ratio เครื่องยนต์แบบเทอร์โบแฟน F100 ของ Pratt & Whitney สำหรับ F-15 Eagle กำลังได้รับการทดสอบใน hush house ที่ฐานทัพการป้องกันทางอากาศ Florida. อุโมงด้านหลังเครื่องยนต์ห่อหุ้มเพื่อป้องกันเสียงและเป็นทางปล่อยให้ไอเสียออกไป การจำลองการไหลของอากาศของเครื่องยนต์แบบ low-bypass turbofan การไหลของอากาศของเครื่องยนต์ไอพ่นระหว่างการ take-off. (คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น) รถยนต์ที่ติดเครื่องยนต์ไอพ่น เครื่องยนต์ไอพ่นแบบเทอร์โบแฟน JT9D ของ Pratt & Whitney ที่ติดตั้งบนเครื่องบิน Boeing 747 เครื่องยนต์กังหันแก๊สอุตสาหกรรม, แสดงชิ้นส่วนภายใน. โดย: Nabonaco เครื่องยนต์ที่ใช้กำลังจากกังหัน (อังกฤษ: turbine powered) ชนิดต่างๆ เครื่องยนต์เทอร์โบเจ็ท ภาพจำลองการทำงานของเครื่องยนต์เทอร์โบแฟนชนิด low bypass, สีเขียวแสดงถึงบริเวณที่อากาศหรือส่วนผสมระหว่างอากาศและเชื้อเพลิงมีความดันต่ำ, สีม่วงหมายถึงบริเวณที่ความดันสูง เครื่องยนต์เทอร์โบแฟนชนิด high-bypass (CF6) สร้างโดย General Electric เครื่องยนต์แบบเทอร์โบพร๊อป เครื่องยนต์แบบพร๊อปแฟน แผนภาพแสดงการทำงานของเครื่องยนต์แรมเจ็ท โดยที่ตัวอักษร M หมายถึงตัวเลขมัค เช่น M>1 หมายถึงความเร็วของอากาศที่ไหล ณ จุดนั้นมากกว่าความเร็วเสียง การทำงานของเครื่องยนต์สแครมเจ็ท แผนภาพจำลองการทำงานของ pulsejet การขับเคลื่อนเครื่องยนต์ด้วยจรวด รูปแสดง pump jet การพึ่งพาประสิทธิภาพของแรงผลัก (η) จากความเร็วยานพาหนะ/อัตราความเร็วไอพ่น (v/ve) สำหรับครื่องยนต์ไอพ่นที่ใช้อากาศหายใจและเครื่องยนต์จรวด แรงกระตุ้นเฉพาะ (อังกฤษ: Specific impulse) เมื่อทำหน้าที่เป็นความเร็วสำหรับไอพ่นประเภทที่แตกต่างกันด้วยเชื้อเพลิงน้ำมันก๊าด (hydrogen Isp จะสูงเป็นสองเท่า). แม้ว่าประสิทธิภาพจะลดลงตามความเร็ว, แต่ก็ครอบคลุมระยะทางได้ใหญ่กว่า, ปรากฏว่าประสิทธิภาพต่อหน่วยระยะทาง (ต่อ กม.หรือ ไมล์) ค่อนข้างไม่ขึ้นอยู่กับความเร็วสำหรับเครื่องยนต์เจ็ทเมื่อเป็นกลุ่ม; อย่างไรก็ตามลำตัวเครื่อง (อังกฤษ: airframe)กลายเป็นไม่มีประสิทธิภาพที่ความเร็วเหนือเสียง การเปรียบเทียบตามความเหมาะสมสำหรับ (จากซ้ายไปขวา) turboshaft, low bypass และ turbojet ในการบินที่ระดับความสูง 10 กิโลเมตรใน​​ความเร็วที่แตกต่างกัน. แนวนอนแกนเป็นความเร็ว, เมตร/วินาที. แกนแนวตั้งแสดงที่มีประสิทธิภาพเครื่องยนต์. นิกซ์ ===== สำหรับดาวบริวารของดาวพลูโต ดูที่ นิกซ์ (ดาวบริวาร) นิกซ์ (อังกฤษ: Nyx ภาษากรีกโบราณ: Νύξ แปลว่า กลางคืน) หรือ น็อกซ์ (Nox) ในภาษาลาตินที่ชาวโรมันเรียก เป็นหนึ่งในเทพดั้งเดิม (protogenoi)ในเทพปกรณัมกรีก นิกซ์เป็นเทพีแห่งราตรีซึ่งเกิดจากเคออสและเป็นคู่ของเอเรบัส (ความมืด) นิกซ์เป็นมารดาของเทพต่างๆมากมาย ซึ่งรวมถึงทานาทอส (ความตาย)และฮิปนอส (นิทรา) มีรูปลักษณ์เป็นหญิงสาวผู้งดงามและทรงอำนาจ สำหรับดาวบริวารของดาวพลูโต ดูที่ นิกซ์ (ดาวบริวาร) นิกซ์ (อังกฤษ: Nyx ภาษากรีกโบราณ: Νύξ แปลว่า กลางคืน) หรือ น็อกซ์ (Nox) ในภาษาลาตินที่ชาวโรมันเรียก เป็นหนึ่งในเทพดั้งเดิม (protogenoi)ในเทพปกรณัมกรีก นิกซ์เป็นเทพีแห่งราตรีซึ่งเกิดจากเคออสและเป็นคู่ของเอเรบัส (ความมืด) นิกซ์เป็นมารดาของเทพต่างๆมากมาย ซึ่งรวมถึงทานาทอส (ความตาย)และฮิปนอส (นิทรา) มีรูปลักษณ์เป็นหญิงสาวผู้งดงามและทรงอำนาจ กวีฮีเสียด กล่าวว่านิกซ์และเอเรบัสเป็นผู้ให้กำเนิดเฮเมรา (กลางวัน)กับอีเธอร์ (อากาศ) จากนั้นนางจึงให้กำเนิดเทพอื่นโดยตัวนางเอง ซึ่งลูกๆของนิกซ์นี้หลายตัวถูกซูสใส่ไว้ในหีบของแพนโดรา ในแต่ละวันนั้นนิกซ์จะอยู่ในถ้ำอันมืดมิดใต้โลกขณะที่เฮเมราออกไปภายนอก และนางจะออกจากถ้ำในยามค่ำคืนเมื่อเฮเมรากลับมาแล้ว เกิดเป็นวัฏจักรของกลางวันและกลางคืน ในมหากาพย์อีเลียดเล่ม 14 ของโฮเมอร์ ฮิปนอสได้กล่าวถึงครั้งที่ตนเคยช่วยฮีราซึ่งขอให้ฮิปนอสทำให้ซูสหลับใหล เพื่อให้นางมีโอกาสกลั่นแกล้งเฮราคลีสได้ เมื่อซูสรู้สึกตัวก็โกรธมากและจะจับฮิปนอสโยนลงไปในทะเล แต่ตอนนั้นฮิปนอสได้หนีไปหานิกซ์ผู้เป็นมารดาเสียแล้ว ฮิปนอสกล่าวไปอีกว่าซูสนั้นเกรงว่าจะทำให้นิกซ์โกรธจึงได้สะกดอารมณ์ของตนและปล่อยฮิปนอสไว้ ซึ่งต่อมาฮิปนอสก็ได้หนีกลับไปหานิกซ์ทุกครั้งที่ตนทำให้ซูสพิโรธ ในกรีซนั้น นิกซ์ไม่ค่อยได้รับการบูชาเป็นเทพีหลักของลัทธิต่างๆนัก พาวซานิอัสได้ระบุว่านางมีวิหารอยู่ในเมืองเมการา. แต่นิกซ์ก็มักจะปรากฏในเรื่องราวเบื้องหลังของลัทธิต่างๆบ่อยครั้ง ในเทวสถานอาร์ทีมิสที่เอเฟซัสก็เคยมีรูปปั้นของนิกซ์อยู่ด้วย ลัทธิของชาวสปาร์ตาซึ่งบูชาฮิปนอสกับทานาทอสก็ได้ใช้ชื่อของนิกซ์ผสมกับเทพอื่นๆ เช่น ไดโอไนซัส นิกเทลิออส "ค่ำคืน" และอโฟรไดที ฟิโลฟานนิกซ์ "ผู้รักราตรี" วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2550 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้เปลี่ยนชื่อดวงจันทร์ S/2005 P 2 ของดาวพลูโตเป็นนิกซ์ (Nix สะกดด้วยตัวอักษร i แทน y เพื่อไม่ให้สับสนกับดาวเคราะห์น้อย 3908 Nyx) ก่อนหน้านั้น พ.ศ. 2540 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้เคยตั้งชื่อภูเขาบนดาวอังคารว่านิกซ์มาแล้วเช่นกัน เฮเมรา (กลางวัน) อีเธอร์ (อากาศ) โมมอส (การเย้ยหยัน) โมรอส (ชะตาวิบัติ) เคอร์ (ความตายอันโหดร้าย) ทานาทอส (ความตาย) ฮิปนอส (นิทรา) โอเนรอย (ความฝัน) โออิซิส (ความกังวล) อฟาที (การหลอกลวง) ฟิโลเทส (ความชอบพอ) เกราส (ชรา) เอริส (ความขัดแย้ง) เนเมซิส (การล้างแค้น) เอช. เจ. โรส ระบุว่านิกซ์ยังเป็นมารดาของเทพธิดาแห่งชะตากรรม มอยรี ในเรื่อง เฮราเคลส ของยูริฟิเดสยังกล่าวว่านางได้ให้กำเนิดลีสซา (ความวิปลาส) จากเลือดของอูรานอสอีกด้วย Pausanias 1.40.1). Pausanias 3.18.1. Pausanias 1.40.6) Orphic Hymn 55. H.J. Rose, Handbook of Greek Mythology, p.24 Vellacott, Phillip (trans.) (1963). Herakles by Euripides. p. 815.  Followers of the Goddess Nyx An excellent description of Nyx from Theoi.com News article about the naming of Pluto's moons ภาพวาดของนิกซ์ โดย วิลเลียม อาดลอฟ บุกุโร อำเภอเมืองบุรีรัมย์ =================== เมืองบุรีรัมย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ เมืองบุรีรัมย์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ตั้งอยู่ทางตอนกลางของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอคูเมืองและอำเภอบ้านด่าน ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบ้านด่าน อำเภอห้วยราช และอำเภอกระสัง ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอพลับพลาชัย อำเภอประโคนชัย อำเภอนางรอง และอำเภอชำนิ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอลำปลายมาศ อำเภอเมืองบุรีรัมย์แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 19 ตำบล 323 หมู่บ้าน ท้องที่อำเภอเมืองบุรีรัมย์ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 19 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลในเมืองทั้งตำบล เทศบาลเมืองชุมเห็ด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชุมเห็ดทั้งตำบล เทศบาลตำบลอิสาณ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอิสาณทั้งตำบล เทศบาลตำบลหลักเขต ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหลักเขตทั้งตำบล เทศบาลตำบลบ้านบัว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านบัวทั้งตำบล เทศบาลตำบลหนองตาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองตาดทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเสม็ด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเสม็ดทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสะแกโพรง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสะแกโพรงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสวายจีกทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านยางทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลพระครู ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพระครูทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลถลุงเหล็ก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลถลุงเหล็กทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลลุมปุ๊ก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลลุมปุ๊กทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสองห้อง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสองห้องทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบัวทอง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบัวทองทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสะแกซำ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสะแกซำทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลกลันทา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกลันทาทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลกระสัง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกระสังทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองฝาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองฝางทั้งตำบล ตำบลในเมือง ศาลหลักเมือง วัดกลางพระอารามหลวง คูเมืองบุรีรัมย์ ตำบลอิสาณ นิว ไอ-โมบาย สเตเดียม สวนเฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 1 พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตำบลเสม็ด วนอุทยานเขากระโดง วัดพระพุทธบาทเขากระโดง ตำบลพระครู วัดโพธิ์ทองพระครู วัดปทุมหนองยาง ตำบลบ้านบัว อ่างเก็บน้ำห้วยจรเข้มาก ตำบลบ้านยาง วัดโพธิ์ทองบ้านยาง ตำบลสองห้อง วัดบ้านตลาดชัย ตำบลบัวทอง วัดหนองบัวทอง วัดป่าบ้านตะเคียน ป่าหนองลุมปุ๊ก ตำบลหลักเขต วัดบ้านหลักเขต ตำบลเมืองฝาง วัดเมืองฝาง ตำบลถลุงเหล็ก วัดสำโรง สายกรุงเทพ-บุรีรัมย์ ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) มาลงที่สถานีขนส่งจังหวัดบุรีรัมย์ มีบริการทั้งกิจการทัวร์, บริษัทขนส่ง จำกัด,ศิริรัตนพลทัวร์,นครชัยแอร์ สายที่ผ่านบุรีรัมย์ เป็นรถกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี, กรุงเทพฯ-สุรินทร์ และกรุงเทพฯ-ศรีสะเกษ ,อุบลฯ-ระยอง,อุบลฯ-ภูเก็ต,อุบลฯ-เชียงใหม่,มุกดาหาร-ระยอง แวะจอดรับ-ส่งผู้โดยสารที่อำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีทั้งรถปรับอากาศชั้น 1 และ 2 สายไปจังหวัดใกล้เคียง บุรีรัมย์-นครราชสีมา บุรีรัมย์-สุรินทร์ บุรีรัมย์-ขอนแก่น บุรีรัมย์-มหาสารคาม บุรีรัมย์-สระแก้ว สายไปต่างอำเภอ บุรีรัมย์-นางรอง บุรีรัมย์-ประโคนชัย-บ้านกรวด บุรีรัมย์-พุทไธสง บุรีรัมย์-ลำปลายมาศ บุรีรัมย์-สตึก (รถตู้) สายรถโดยสารในตัวเมือง สายตลาดเทศบาล-เขากระโดง (สาย 1) ขึ้นรถได้ที่สถานีรถไฟบุรีรัมย์ โรงพยาบาลบุรีรัมย์ และสถานีขนส่ง สายบ้านบัว (สาย 2) ขึ้นรถได้ที่สถานีขนส่ง สถานีรถไฟบุรีรัมย์ เป็นสถานีรถไฟหลักของอำเภอเมืองบุรีรัมย์ สถานีบ้านหนองตาด หยุดจอดเฉพาะ รถท้องถิ่น รถธรรมดา และรถเร็วบางขบวน ที่หยุดรถบ้านตะโก หยุดจอดเฉพาะรถท้องถิ่น ขบวนรถด่วนพิเศษ มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพ-อุบลราชธานี เป็นรถนั่งปรับอากาศชั้น 2 ทั้งขบวน ขบวนรถด่วน มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี, กรุงเทพฯ-ศรีสะเกษ และกรุงเทพฯ-ศีขรภูมิ แบ่งได้ดังนี้ ขบวนรถเร็ว มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 4 ขบวน ขบวนรถธรรมดา มีขบวนรถไฟสายกรุงเทพฯ-สุรินทร์ เป็นรถไฟฟรี ขบวนรถท้องถิ่น มีขบวนรถไฟสายนครราชสีมา-อุบลราชธานี รวมทั้งสิ้น 3 ขบวน เป็นรถไฟฟรี โรงเรียนฮั่วเคี้ยว โรงเรียนฮั่วเคี้ยว 2 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม โรงเรียนภัทรบพิตร โรงเรียนมารีย์อนุสรณ์ โรงเรียนเทศบาล 1 โรงเรียนเทศบาล 2 โรงเรียนเทศบาล 3 โรงเรียนบัวหลวงวิทยาคม โรงเรียนกนกศิลป์พิทยาคม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ โรงเรียนพระครูพิทยาคม โรงเรียนกลันทาพิทยาคม โรงเรียนสวายจีกพิทยาคม โรงเรียนหนองตาดพิทยาคม โรงเรียนสองห้องพิทยาคม วัดธรรมธีราราม วัดกลางพระอารามหลวง วัดอิสาณ วัดโพธิ์ทองบ้านสวายจีก จังหวัดบุรีรัมย์ เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ เขากระโดงหินแกร่ง แหล่งรวมสกุณา พระพุทธยอดฟ้าประกาศิต สุภัทรบพิตรคู่เมือง ลือเลื่องวัฒนธรรม ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอเมืองบุรีรัมย์ อักษรโรมัน Amphoe Mueang Buri Ram จังหวัด บุรีรัมย์ ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 718.235 ตร.กม. ประชากร 219,708 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 305.89 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 3101 รหัสไปรษณีย์ 31000 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอเมืองบุรีรัมย์ ถนนจิระ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000 พิกัด 14°59′42″N 103°6′12″E / 14.99500°N 103.10333°E / 14.99500; 103.10333 หมายเลขโทรศัพท์ 0 4461 1622 หมายเลขโทรสาร 0 4461 1622 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ในเมือง (Nai Mueang) 11. ลุมปุ๊ก (Lumpuk) 2. อิสาณ (Isan) 12. สองห้อง (Song Hong) 3. เสม็ด (Samet) 13. บัวทอง (Bua Thong) 4. บ้านบัว (Ban Bua) 14. ชุมเห็ด (Chum Het) 5. สะแกโพรง (Sakae Phrong) 15. หลักเขต (Lak Khet) 6. สวายจีก (Sawai Chik) 16. สะแกซำ (Sakae Sam) 7. บ้านยาง (Ban Yang) 17. กลันทา (Kalantha) 8. พระครู (Phra Khru) 18. กระสัง (Krasang) 9. ถลุงเหล็ก (Thalung Lek) 19. เมืองฝาง (Mueang Fang) 10. หนองตาด (Nong Tat) พื้นที่ตำบลในเมืองของเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ที่ตั้งของสำนักงานเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ คูเมืองบุรีรัมย์ ตัวเมืองบุรีรัมย์ฝั่งใต้ โรงเรียนฮั้วเคี้ยว แห่งที่ 2 ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลอิสาณ วัดกลางพระอารามหลวง รายชื่ออาการทางการแพทย์ ======================= รายชื่ออาการต่างๆ ทางการแพทย์ข้างล่างนี้จนถึงปัจจุบันอาจยังไม่สมบูรณ์ หากผู้อ่านมีข้อมูลใหม่กว่านี้สามารถเพิ่มเต็มได้ตามอัธยาศัย ทั่วไป วิตกกังวล (anxiety) มองเห็นไม่ชัด (blurred vision) ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก (cachexia-R64) เบื่ออาหาร (loss of appetite-R63.0) น้ำหนักลด (weight loss-R63.4) อาการเวียนศีรษะ (dizziness-R42) / อาการเวียนศีรษะบ้านหมุน (vertigo) มองเห็นภาพซ้อน (double vision-H53.2) ง่วงซึม (drowsiness-R40.0) ปากแห้ง (dry mouth-R68.2) ความล้า/เหนื่อย/อาการกระเสาะกระแสะ (R53) ไข้ (fever-R50) นอนไม่หลับ (insomnia-F51.0, G47.0) คัน (itch-L29) ดีซ่าน (jaundice-P58, P59, R17) อาการปวด (pain) ปวดท้อง (abdominal pain-R10) เจ็บหน้าอก (chest pain-R07) ผื่นบนผิวหนัง (rash-R21) การบวม / บวมน้ำ (R60) /การบวมทั้งตัว (R60.1) /ตุ่มพอง (T14.0) เป็นลมหน้ามืด (syncope-R55) สั่น (tremor-R25.1) เสียงก้องในหู (tinnitus-H93.1) ลมพิษ (urticaria-L50) ระบบทางเดินอาหาร ภาวะเบื่ออาหาร (anorexia-R63.0) มีลมในลำไส้มาก (bloating-R14) ขย้อน (belching-R14) มีเลือดในอุจจาระ: อุจจาระดำ (melena-K92.1), hematochezia ท้องผูก (constipation-K59.0) ท้องร่วง (diarrhea-A09, K58, K59.1) กลืนลำบาก (dysphagia-R13) อาการไม่สบายท้อง (dyspepsia-K30) อาการท้องอืด (flatulence-R14) อาการคลื่นไส้ (nausea-R11) อาการแสบร้อนกลางอก (pyrosis-R12) อาเจียน (vomiting-R11) ระบบหัวใจและหลอดเลือด เจ็บหน้าอก (chest pain-R07) อาการกะเผลกเหตุปวด (claudication) ใจสั่น (palpitation-R00.2) ระบบทางเดินปัสสาวะ (urologic) ปัสสาวะแสบขัด (dysuria-R30.0) ภาวะปัสสาวะมาก (polyuria-R35) ภาวะปัสสาวะมีโลหิต (hematuria-R31) ปัสสาวะบ่อย (urinary frequency-R35) กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (urine incontinence-R32) ปอด หายใจช้า (bradypnea-R06.0) ไอ (cough-R05) อาการหายใจลำบาก,หอบเหนื่อย (dyspnea-R06.0) ไอเป็นเลือด (hemoptysis-R04.2) เจ็บหน้าอกตามการหายใจ (pleuritic chest pain) มีเสมหะ (sputum-R09.3) อัตราหายใจเร็ว (tachypnea-R06.0) จักษุวิทยา ตากุ้งยิง (Eye stye-H00) ต้อเนื้อ (Pteygium-H11.0) ต้อลม (Pinguecula-H11.1) ต้อกระจก (Cataract-H25) ต้อหิน (Glaucoma-H40) สายตายาว (Hypermetropia-H52.0) สายตาสั้น (Myopia-H52.1) สายตาเอียง (Astigmatism-H52.2) อื่นๆ ตามืดชั่วขณะ (amaurosis fugax-G45.3) and ตาบอดตาใส (amaurosis) จ้ำเลือด (Bruise-Sx0 (x=0 through 9)) อาการปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ (dyspareunia-N94.1) การตกเลือดกำเดา (epistaxis-R04.0) ชัก (convulsion-R56) ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ (impotence-N48.4) เม็ดเลือดแดงใหญ่ผิดปกติ (macrocytosis-D75.8) ตะคริว (muscle cramps-R25.2) อัมพาต (paralysis) ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน (paresthesia-R20.2) อ้วน (weight gain-R63.5) ชาวไทดำ ======= ไทดำ หรือ ไทยทรงดำ เป็นกลุ่มชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในเขตสิบสองจุไทเดิม หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำดำและแม่น้ำแดงในเวียดนามตอนเหนือ ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมของชาวไทดำและ ชาวไทขาว ปัจจุบันสิบสองจุไทคือจังหวัดเดียนเบียนฟูของเวียดนาม มีเขตติดต่อกับประเทศลาวคือแขวงพงสาลี ปัจจุบันชื่อที่ชาวพื้นเมืองใช้เรียกตนเองที่จังหวัดเดียนเบียนฟูคือ "ไตดำ" ในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามาปกครองเวียดนามและลาว พวกเขาได้เรียกชนเผ่าที่อยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำดำว่า ไทดำ ที่เรียกว่าไทดำไม่ใช่ว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้ำดำ แต่เพราะว่ากลุ่มชนเผ่าไทดังกล่าว นิยมสวมเสื้อผ้าสีดำอันเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งย้อมด้วยต้นห้อมหรือต้นคราม การที่เรียกว่า "ลาวโซ่ง" จริง ๆ แล้วชนชาติพันธุ์ไม่ได้เป็นลาว เหตุที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะว่ามีการอพยพผ่านดินแดนลาวลงมายังสยาม การเรียกว่า "ชาวโซ่ง" หรือ "ชาวไททรงดำ" จะถูกต้องกว่า เหมือนที่มีการเรียกคนกลุ่มนี้ในจังหวัดเพชรบุรีว่า "โซ่ง" หรือ "ไทยทรงดำ" ไทดำ หรือ ไทยทรงดำ เป็นกลุ่มชาวไทกลุ่มหนึ่ง ที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในเขตสิบสองจุไทเดิม หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำดำและแม่น้ำแดงในเวียดนามตอนเหนือ ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ดั้งเดิมของชาวไทดำและ ชาวไทขาว ปัจจุบันสิบสองจุไทคือจังหวัดเดียนเบียนฟูของเวียดนาม มีเขตติดต่อกับประเทศลาวคือแขวงพงสาลี ปัจจุบันชื่อที่ชาวพื้นเมืองใช้เรียกตนเองที่จังหวัดเดียนเบียนฟูคือ "ไตดำ" ในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามาปกครองเวียดนามและลาว พวกเขาได้เรียกชนเผ่าที่อยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำดำว่า ไทดำ ที่เรียกว่าไทดำไม่ใช่ว่าพวกเขาอาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้ำดำ แต่เพราะว่ากลุ่มชนเผ่าไทดังกล่าว นิยมสวมเสื้อผ้าสีดำอันเป็นเอกลักษณ์ ซึ่งย้อมด้วยต้นห้อมหรือต้นคราม การที่เรียกว่า "ลาวโซ่ง" จริง ๆ แล้วชนชาติพันธุ์ไม่ได้เป็นลาว เหตุที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะว่ามีการอพยพผ่านดินแดนลาวลงมายังสยาม การเรียกว่า "ชาวโซ่ง" หรือ "ชาวไททรงดำ" จะถูกต้องกว่า เหมือนที่มีการเรียกคนกลุ่มนี้ในจังหวัดเพชรบุรีว่า "โซ่ง" หรือ "ไทยทรงดำ" ในปี พ.ศ. 2438 และ ปี พ.ศ. 2439 ได้เกิดการอพยพครั้งใหญ่ของชาวไทขึ้น สาเหตุก็มาจากศึกสงครามแย่งชิงอำนาจกัน ระหว่างบรรดาหัวหน้าของไทดำกลุ่มต่าง ๆ ในแคว้นสิบสองจุไท จึงได้อพยพเข้ามาในประเทศลาว และในภาคอีสานของประเทศไทย ในประเทศลาว ชาวไทดำส่วนมากได้ตั้งถิ่นฐานใน แขวงหลวงน้ำทา, แขวงบ่อแก้ว, แขวงอุดมไซ และส่วนน้อยในทุกแขวงของประเทศลาว ปัจจุบันยังคงเรียกตนเองว่าคนไทดำเหมือนเดิม ในประเทศไทย จะอพยพเข้ามาอยู่ที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดย ซึ่งมีการอพยพเข้าออกย้ายกลับไปกลับมาระหว่างในลาวกับฝั่งไทยหลายครั้ง สุดท้ายก็ตั้งถิ่นฐานถาวรที่อำเภอเชียงคาน ในช่วงระหว่าง ปี พ.ศ. 2496 จนถึงปี พ.ศ. 2497 ได้เกิดสงครามในเมืองเดียนเบียนฟู ซึ่งเป็นหนึ่งในเมืองของแคว้นสิบสองจุไทเดิม ชาวไทดำจึงได้อพยพหลบหนีการเกณฑ์ทหารของฝรั่งเศสเข้ามาในประเทศลาวและไทยอีกระลอกหนึ่ง ในประเทศไทยนอกจากภาคอีสานและภาคเหนือที่มีชาวไทดำได้อพยพเข้าไปแล้ว ชาวไทดำได้อพยพเข้ามาในภาคกลางด้วย โดยคนไทยเรียกชาวไทดำว่า ลาวโซ่ง โซ่งนั้นมีการสันนิษฐานว่า น่าจะมาจากคำว่า ซ่วง หรือ ซ่ง ซึ่งเป็นภาษาไทดำแปลว่ากางเกง เพราะว่าชาวไทดำเหล่านี้สวมกางเกงสีดำ ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ครั้นพระองค์ทรงไปตีกรุงเวียงจันทน์ ในปี พ.ศ. 2322 พระองค์ทรงได้กวาดต้อนชาวไทดำที่อพยพมาจากสิบสองจุไท ส่งไปตั้งถิ่นฐานที่เมืองเพชรบุรี ดังได้กล่าวไว้ในประวัติชาติไทยว่า "แล้วปีรุ่งขึ้นโปรดเกล้าฯ ให้ยกกองทัพไปตีเมืองหลวงพระบาง ไปตีเมืองทัน เมืองม่วย เมืองทั้ง 2 นี้เป็นเมืองของไทซ่งดำ ตั้งอยู่ในเขตแดนญวนเหนือ แล้วพาครัวลาวเวียง ไทดำ ลงมากรุงธนบุรีในเดือนยี่ ไทซ่งดำให้ไปอยู่เพชรบุรี" ในสมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปี พ.ศ. 2335 ได้รวบรวมครอบครัวไทดำ ลาวพวน ลาวเวียง มายังประเทศไทยอีกครั้งหนึ่ง สาเหตุที่เมืองแถง เมืองพวน แข็งข้อต่อเมืองเวียงจันทน์ เจ้าเมืองเวียงจันทน์ยกกองทัพไปตีได้ ลาวโซ่ง, ลาวพวน, ลาวเวียง ลงมาถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯที่กรุงเทพฯราว4,000ครอบครัวเศษ หลังจากนั้นรัชกาลที่1ทรงโปรดเกล้าให้ชาวลาวเวียงไปอยู่ที่ จังหวัดสระบุรี ลาวพวนไปอยู่ที่จังหวัดสุพรรณบุรี และไทดำมาอยู่ที่หมู่บ้านหนองเลา หรือ หนองลาว (หนองปรง) ตำบลหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ในสมัยรัชกาลที่3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว - เจ้าอนุวงศ์แห่งลาวเวียงจันทน์ ทรงไปตีเมืองของชาวไทดำแล้วกวาดต้อนลงมายังกรุงเทพฯ แล้วทูลขอแลกชาวไทดำกับชาวลาวเวียงจันทน์ที่ถูกกวาดต้อนลงมาในสมัยกรุงธนบุรี ให้กลับขึ้นไปนครเวียงจันททน์ และทูลขอให้อาณาจักรลาวเวียงจันทน์เป็นเอกราชไม่ขึ้นตรงกับกรุงเทพฯ แต่รัชกาลที่3ทรงไม่อนุญาต เพราะหากทรงยอมก็จะมีคนกลุ่มอื่นที่ไทยกวาดต้อนมพากันกำเริบเอาอย่างบ้าง เมื่อไม่พระราชทานตามประสงค์เจ้าอนุวงศ์รู้สึกอัปยศจึงกลับขึ้นไปเวียงจันทน์ก็ตั้งต้นคิดกบฏ - ปี พ.ศ. 2369 - พ.ศ. 2371 เจ้าอนุวงศ์ได้ก่อกบฏกับสยาม ได้ขึ้นไปปรากบฏที่เวียงจันทน์ และได้นำครอบครัวชาวไทดำเข้ามาอยู่ในสยามอีก ดังบันทึกของจอมพลเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีกล่าวไว้เมื่อคราวเป็นแม่ทัพไปปราบฮ่อในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2430 ไว้ว่า “พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาธรรมาฯ ยกกองทัพขึ้นมาเมืองถึงเมืองแถง จัดราชการเรียบร้อยแล้วได้เอาครัวเมืองแถงและสิบสองจุไทซึ่งเป็นไทดำลงมากรุงเทพฯ เป็นอันมาก เพราะขืนไว้จะเกิดการยุ่งยากแก่ทางราชการขึ้นอีกครั้ง แล้วพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้พวกไทดำเหล่านั้น ไปตั้งภูมิลำเนาอยู่ ณ เมืองเพชรบุรี จนได้ชื่อว่าลาวซ่ง" จากหลักฐานการอพยพเข้ามาในไทยทั้งสองครั้ง แสดงให้เห็นว่าไทดำหรือไทยทรงดำ มาตั้งถิ่นฐานที่จังหวัดเพชรบุรี เป็นแห่งแรกและจากคำบอกเล่าจากชาวไทยทรงดำเอง ก็บรรยายว่า เดินอพยพมาจากถิ่นฐานเดิมโดยทางเรือ มาตั้งถิ่นฐานที่ตำบลท่าแร้ง อำเภอบ้านแหลม ซึ่งเป็นบ้านชายทะเล ชาวไทยทรงดำไม่ชอบภูมิประเทศแถบนั้น จึงได้ย้ายถิ่นฐานมาเรื่อย ๆ จนถึงแถบอำเภอเขาย้อย ซึ่งมีภูมิประเทศเป็นป่าเขาเหมือนกับถิ่นฐานเดิมจึงได้ตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น ต่อมาชาวไทยทรงดำก็ได้ย้ายถิ่นฐานไปทำมาหากินในที่อื่นๆ เช่น นครปฐม ราชบุรี สุพรรณบุรี พิจิตร พิษณุโลก ชุมพร และสุราษฎร์ธานี แต่ชาวไทยทรงดำในจังหวัดต่าง ๆ เหล่านั้นจะบอกที่มาเป็นแหล่งเดียวกันว่า มาจากจังหวัดเพชรบุรี - ปี พ.ศ. 2376 - พ.ศ. 2378 เกิดศึกกับญวน คือหัวพันห้าทั้งหก เมืองพวน เมื่อกองทัพสยามชนะจึงเทครัวชาวพวนและชาวไทดำลงมายังกรุงเทพฯ - ปี พ.ศ. 2379 - พ.ศ. 2381 จากเอกสารพงศาวดารเมืองหลวงพระบาง หลังเจ้าอนุวงศ์สวรรคต ราชวงศ์ลาวเวียงจันทน์ล่มสลาย หัวเมืองลาวหลวงพระบางจึงขึ้นตรงต่อสยาม อุปราชเมืองหลวงพระบางยกทัพไปตีเมืองของชาวไทดำ แล้วกวาดต้อนชาวไทดำเป็นเครื่องบรรณาการลงมาถวายยังกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การปราบพวกจีนฮ่อในดินแดนลาว ทรงโปรงให้เทครัวชาวไทดำลงมายังสยาม เนื่องจากเกิดกบฏฮ่อรุนรานหลายครั้ง พวกฮ่อได้เผาบ้านเมืองชาวไทดำในสิบสองจุไท เมืองแถง และหัวเมืองลาวหลายเมืองเพื่อปล้นทรัพย์ ชาวไทดำได้อพยพหนีมายังหลวงพระบางและเวียงจันทน์ ครั้งยกทัพไปปรากบฏจีนฮ่อจึงทรงโปรดให้ชาวไทดำตามลงมาสร้างบ้านเรือนในสยามได้ นับเป็นรุ่นสุดท้ายที่ชาวไทดำเทครัวลงมายังสยาม การแต่งกายของสตรี ผู้หญิงที่แต่งงานแล้วจะมวยผมปั้นเกล้ายกสูงขึ้นไว้บนกลางศีรษะ เสื้อใส่แขนทรงกระบอกสีดำ คอเสื้อมนกลม และนุ่งซิ่นสีดำยาว หรือไม่ก็ลายซิ่นแบบลายแตงโม จะมีผ้าเปียวโพกคลุมไว้ที่ศีรษะกรณีที่ออกไปทำไร่ทำนาหรือออกไปข้างนอก ภาษาที่ใช้ในกลุ่มคนที่เรียกตัวเองว่าโซ่ง จะใช้ภาษาไทดำ ซึ่งมีตัวอักษรเป็นของตัวเอง พิธีกรรมของชาวไทดำ 1. เสนเฮือน คือ พิธีกรรมการทำบุญบ้าน 2. เสนบ้าน คือ พิธีกรรมการทำบุญประจำปีของหมู่บ้าน 3. เสนเมือง คือ พิธีกรรมการทำบุญประจำปีของเมือง 4. เสนเคาะ คือ พิธีกรรมสะเดาะห์เคราะห์ 5. เสนมด คือ พิธีกรรมการเลี้ยงผีมดผีมนต์ 6. เสนขึ้นเสื้อ คือ พิธีกรรมบูชาเจ้ากรรมนายเวร 7. เสนฆ่าเกือด คือ พิธีกรรมการตัดขาดระหว่างผีกับคนหรือพ่อแม่เก่าของเด็กที่เกิดใหม่ 8. เสนเตง คือ พิธีกรรมไถ่ถอนขวัญจากที่แถนจับไว้หรือแถนลงโทษ ชาวไทดำเป็นคนละกลุ่มกับชาวผู้ไทที่อยู่ทางภาคอีสานของไทย มีภาษาเขียนและมี " สิง " หรือนามสกุลประจำตระกูล ยุกตนันท์ จำปาเทศ. 2547. เอกสารรายงานท้องถิ่นของเรา "เพชรบุรี หนังสือหมู่บ้านไทดำ โดย เพชรตะบอง สิงห์หล่อคำ บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก จังหวัดเดี่ยนเบียนของเวียดนาม หรือในอดีตคือแคว้นสิบสองจุไท ถิ่นที่อยู่เดิมของชาวไทดำ มีเมืองแถงเป็นเมืองหลวง ผู้หญิงชาวไทดำ ในเมืองสิงห์ แขวงหลวงน้ำทา ประเทศลาว อำเภอศีขรภูมิ ============= ศีขรภูมิ [สี-ขอ-ระ-พูม] เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ ศีขรภูมิ [สี-ขอ-ระ-พูม] เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ อำเภอศีขรภูมิตั้งอยู่ทางตอนกลาง ค่อนไปทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอจอมพระและอำเภอสนม ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอสำโรงทาบ และอำเภอปรางค์กู่ (จังหวัดศรีสะเกษ) ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอศรีณรงค์และอำเภอลำดวน ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองสุรินทร์และอำเภอเขวาสินรินทร์ อำเภอศีขรภูมิแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 15 ตำบล 228 หมู่บ้าน ท้องที่อำเภอศีขรภูมิประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 16 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลศีขรภูมิ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลระแงง เทศบาลตำบลผักไหม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลผักไหมทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลระแงง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลระแงง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลศีขรภูมิ) องค์การบริหารส่วนตำบลตรึม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตรึมทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลจารพัต ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจารพัตทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลยาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลยางทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลแตล ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแตลทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองบัวทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลคาละแมะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคาละแมะทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล็ก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองเหล็กทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองขวาว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองขวาวทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลช่างปี่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลช่างปี่ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลกุดหวาย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกุดหวายทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลขวาวใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลขวาวใหญ่ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลนารุ่ง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนารุ่งทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลตรมไพร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตรมไพรทั้งตำบล พระศรีวิสุทธิคุณ (มานพ ปิยสีโล) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ , ดร. (ป.ธ.๙, พธ.บ., อ.ม.,พธ.ด.) เจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (ม) และรักษาการเจ้าอาวาสวัดป่าพุทธชยันตี ตำบลผักไหม อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ พระมหาเจริญสุข คุณวีโร ป.ธ.๙ เจ้าอาวาสวัดศรีวิหารเจริญ อำเภอศีขรภูมิ และรองเจ้าคณะจังหวัดสุรินทร์ (มหานิกาย) ปวีณา ทองสุก นักยกน้ำหนักหญิงทีมชาติไทย เจ้าของเหรียญทองจากโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 ที่ประเทศกรีซ ราชบัณฑิตยสถาน. อ่านอย่างไร และ เขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. วิทยาลัยการอาชีพศีขรภูมิ เทศบาลตำบลศีขรภูมิ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองเหล็ก บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก อำเภอศีขรภูมิ เมืองหลายภาษา หลากวัฒนธรรม ศิลปกรรมที่ล้ำลึก ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอศีขรภูมิ อักษรโรมัน Amphoe Sikhoraphum จังหวัด สุรินทร์ ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 561.623 ตร.กม. ประชากร 135,975 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 242.11 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 3209 รหัสไปรษณีย์ 32110 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอศีขรภูมิ ถนนเสรีธิปัตย์ ตำบลระแงง อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 32110 พิกัด 14°56′48″N 103°47′30″E / 14.94667°N 103.79167°E / 14.94667; 103.79167 หมายเลขโทรศัพท์ 0 4456 1314 หมายเลขโทรสาร 0 4456 1314 เว็บไซต์ อำเภอศีขรภูมิ ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ระแงง (Ra-ngaeng) 15 หมู่บ้าน 9. หนองขวาว (Nong Khwao) 17 หมู่บ้าน 2. ตรึม (Truem) 18 หมู่บ้าน 10. ช่างปี่ (Chang Pi) 14 หมู่บ้าน 3. จารพัต (Charaphat) 20 หมู่บ้าน 11. กุดหวาย (Kut Wai) 14 หมู่บ้าน 4. ยาง (Yang) 18 หมู่บ้าน 12. ขวาวใหญ่ (Khwao Yai) 9 หมู่บ้าน 5. แตล (Taen) 22 หมู่บ้าน 13. นารุ่ง (Na Rung) 9 หมู่บ้าน 6. หนองบัว (Nong Bua) 18 หมู่บ้าน 14. ตรมไพร (Trom Phrai) 10 หมู่บ้าน 7. คาละแมะ (Khalamae) 15 หมู่บ้าน 15. ผักไหม (Phak Mai) 11 หมู่บ้าน 8. หนองเหล็ก (Nong Lek) 18 หมู่บ้าน มองโกเลีย ========= มองโกเลีย อาจหมายถึง ประเทศมองโกเลีย ภาษามองโกเลีย เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน - เขตปกครองตนเองในประเทศจีน จักรพรรดิจิ้นหยวน ================= สำหรับความหมายอื่น ดูที่ จักรพรรดิหยวนตี้ จักรพรรดิจิ้นหยวนตี้ (晋元帝/晉元帝, pinyin Jìn Yuándì, Wade-Giles Chin Yüan-ti) (ค.ศ. 276 - 3 มกราคม ค.ศ. 323) จักรพรรดิแห่งราชวงศ์จิ้น (Jin) และทรงเป็นจักรพรรดิองค์แรกแห่ง ราชวงศ์จิ้นตะวันออก (Eastern Jin) ทรงเป็นเหลนของสุมาอี้ (Sima Yi) มีนามว่า สุมารุย (หรือ ซือหม่ารุย) ประสูติเมื่อ ค.ศ. 276 (พ.ศ. 819) ที่เมืองลกเอี๋ยง (Luo Yang) เมื่อ ราชวงศ์จิ้นตะวันตก ล่มสลายในปี 316 สุมารุย จึงถือโอกาสตั้งตนขึ้นเป็น จักรพรรดิจิ้นหยวนตี้ (ค.ศ. 317 - 323) จักรพรรดิจิ้นหยวนตี้สวรรคตในปี ค.ศ. 323 (พ.ศ. 866) ขณะพระชนม์ได้ 47 พรรษา องค์รัชทายาทสุมาจ้าว หรือซือหม่าจ้าว จึงขึ้นครองราชย์สืบต่อมาเป็น จักรพรรดิจิ้นหมิงตี้ ก่อนหน้า จักรพรรดิจิ้นหยวน ถัดไป จักรพรรดิจิ้นหมิ่นตี้ จักรพรรดิจีน (ค.ศ. 317 - ค.ศ. 323) จักรพรรดิจิ้นหมิงตี้ จักษุวิทยา ========== จักษุวิทยา (อังกฤษ: Ophthalmology) เป็นสาขาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่ศึกษากายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา และโรคของตา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยาเรียกว่า จักษุแพทย์ ซึ่งต้องผ่านการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และการศึกษาเป็นแพทย์ประจำบ้านด้านจักษุวิทยา และสอบผ่านวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาจักษุวิทยาจากราชวิทยาลัยจักษุแพทย์ จักษุวิทยา (อังกฤษ: Ophthalmology) เป็นสาขาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่ศึกษากายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา และโรคของตา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านจักษุวิทยาเรียกว่า จักษุแพทย์ ซึ่งต้องผ่านการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และการศึกษาเป็นแพทย์ประจำบ้านด้านจักษุวิทยา และสอบผ่านวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาจักษุวิทยาจากราชวิทยาลัยจักษุแพทย์ จักษุวิทยามีสาขาวิชาเฉพาะทางต่อยอดซึ่งเกี่ยวข้องกับโรคบางโรค หรือบางส่วนของตา เช่น กระจกตา/การผ่าตัดแก้ไขสายผิดปกติ จักษุประสาท จอตา/น้ำวุ้นตา จักษุวิทยาตกแต่งและศัลยกรรมกระดูกเบ้าตา จักษุวิทยาเด็ก/ตาเข จักษุพยาธิวิทยา ต้อหิน ม่านตาอักเสบ/ภูมิคุ้มกันวิทยา สายตาเลือนลาง เกณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาจักษุวิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552) ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย American Academy of Opthalmology บทความเกี่ยวกับแพทยศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:แพทยศาสตร์ คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: จักษุวิทยา การใช้กล้องจักษุจุลทรรศน์ (Slit lamp) ตรวจตาในคลินิกจักษุวิทยา จิ้งเหลน ======== จิ้งเหลน (อังกฤษ: Skink, ชื่อวิทยาศาสตร์: Scincidae) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่จัดอยู่ในอันดับ Squamata เช่นเดียวกับงูและกิ้งก่า จัดอยู่ในวงศ์ Scincidae มีรูปร่างโดยรวม คือ ลดรูปรยางค์ขาแตกต่างกันหลายระดับเพราะบางชนิดมีขาใหญ่ บางชนิดมีขาเล็กมาก และบางชนิดไม่มีขา มีรูปร่างแตกต่างกันตั้งแต่ลำตัวป้อมและขาใหญ่ไปจนถึงลำตัวเรียวยาวคล้ายงู เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องรูปร่างกลมและเรียบเป็นมัน เกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อมกันและมีกระดูกในชั้นหนังรองรับโดยมีลักษณะจำเพาะ คือ เกล็ดแต่ละแผ่นมีกระดูกในชั้นหนังหลายชิ้นซึ่งแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่น ๆ ที่มีชั้นเดียว ลักษณะจำเพาะและแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่นอีกประการ คือ หลายชนิดของวงศ์นี้มีเพดานปากแบบทุติยภูมิเจริญขึ้นมา กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งหรือไม่มีกระดูกชิ้นนี้และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางค่อนข้างยาว หลายชนิดปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เหมือนเช่น จิ้งจก เพื่อเอาตัวรอดจากศัตรู โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหาง พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน วงศ์จิ้งเหลนนี้ถือว่าเป็นวงศ์ที่ใหญ่มาก สามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) แบ่งออกได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ถึง 116 สกุล และเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ราว 1,000 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะการค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี สำหรับสัตว์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ จิ้งเหลนบ้าน (Eutropis multifasciata) ที่สารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทย เป็นต้น จิ้งเหลน (อังกฤษ: Skink, ชื่อวิทยาศาสตร์: Scincidae) เป็นสัตว์เลื้อยคลานที่จัดอยู่ในอันดับ Squamata เช่นเดียวกับงูและกิ้งก่า จัดอยู่ในวงศ์ Scincidae มีรูปร่างโดยรวม คือ ลดรูปรยางค์ขาแตกต่างกันหลายระดับเพราะบางชนิดมีขาใหญ่ บางชนิดมีขาเล็กมาก และบางชนิดไม่มีขา มีรูปร่างแตกต่างกันตั้งแต่ลำตัวป้อมและขาใหญ่ไปจนถึงลำตัวเรียวยาวคล้ายงู เกล็ดปกคลุมลำตัวด้านหลังและด้านท้องรูปร่างกลมและเรียบเป็นมัน เกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อมกันและมีกระดูกในชั้นหนังรองรับโดยมีลักษณะจำเพาะ คือ เกล็ดแต่ละแผ่นมีกระดูกในชั้นหนังหลายชิ้นซึ่งแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่น ๆ ที่มีชั้นเดียว ลักษณะจำเพาะและแตกต่างจากกิ้งก่าวงศ์อื่นอีกประการ คือ หลายชนิดของวงศ์นี้มีเพดานปากแบบทุติยภูมิเจริญขึ้นมา กระดูกหัวไหล่มีกระดูกอินเตอร์ควาวิเคิลเป็นรูปโค้งหรือไม่มีกระดูกชิ้นนี้และกระดูกไหปลาร้าเป็นรูปหักมุม หางค่อนข้างยาว หลายชนิดปล่อยหางหลุดจากลำตัวได้เหมือนเช่น จิ้งจก เพื่อเอาตัวรอดจากศัตรู โดยตำแหน่งที่ปล่อยหางอยู่ทางด้านหน้าของก้านกระดูกทางด้านข้างของก้านกระดูกทางด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนหาง พื้นผิวด้านบนของลิ้นเป็นตุ่มยาว ฟันที่ขากรรไกรเกาะติดกับร่องที่ขอบด้านในของกระดูกขากรรไกร กระดูกพเทอรีกอยด์มีฟันหรือไม่มีฟัน วงศ์จิ้งเหลนนี้ถือว่าเป็นวงศ์ที่ใหญ่มาก สามารถแบ่งออกได้เป็นวงศ์ย่อย ๆ ได้อีก 4 วงศ์ (ดูในตาราง) แบ่งออกได้เป็นสกุลต่าง ๆ ได้ถึง 116 สกุล และเป็นชนิดต่าง ๆ ได้ราว 1,000 ชนิด ซึ่งจำนวนนี้ไม่แน่นอน เพราะการค้นพบใหม่ ๆ ขึ้นทุกปี สำหรับสัตว์ในวงศ์นี้ที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี คือ จิ้งเหลนบ้าน (Eutropis multifasciata) ที่สารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทย เป็นต้น วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก หน้า 391 (พ.ศ. 2552) ISBN 978-616-556-016-0 วิกิสปีชีส์ มีข้อมูลภาษาอังกฤษเกี่ยวกับ: Scincidae จิ้งเหลน จิ้งเหลนบ้าน (Eutropis multifasciata) การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Animalia ไฟลัม: Chordata ชั้น: Reptilia ไม่ถูกจัดอันดับ: Sauria อันดับ: Squamata อันดับฐาน: Scincomorpha วงศ์: Scincidae Gray, 1825 วงศ์ย่อย Acontinae Feyliniinae Lygosominae Scincinae อำเภอวชิรบารมี ============== อำเภอวชิรบารมี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2541 อำเภอวชิรบารมี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพิจิตร จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2541 อำเภอวชิรบารมี เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอสามง่าม ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 จึงได้แยกพื้นที่ตำบลบ้านนา ตำบลบึงบัว ตำบลวังโมกข์ และตำบลหนองหลุม จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอวชิรบารมี เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขณะทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร โดยพระราชทานชื่อ "วชิร" ให้เป็นชื่อของอำเภอ มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 อำเภอวชิรบารมีเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางระกำ (จังหวัดพิษณุโลก) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอสามง่าม ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอสามง่าม ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอไทรงามและอำเภอลานกระบือ (จังหวัดกำแพงเพชร) อำเภอวชิรบารมีแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล 50 หมู่บ้าน ได้แก่ ท้องที่อำเภอวชิรบารมีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนา ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านนาทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบึงบัว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบึงบัวทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวังโมกข์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังโมกข์ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหลุม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองหลุมทั้งตำบล นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือตอนล่าง (พิจิตร) พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2541 บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอวชิรบารมี นามอำเภอพระราชทาน ถิ่นฐานไทยทรงดำ การเกษตรเลิศล้ำ อุตสาหกรรมก้าวไกล ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอวชิรบารมี อักษรโรมัน Amphoe Wachirabarami จังหวัด พิจิตร ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 259.5 ตร.กม. ประชากร 31,481 คน (พ.ศ. 2557) ความหนาแน่น 121.31 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 6612 รหัสไปรษณีย์ 66140 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอวชิรบารมี เลขที่ 304 หมู่ที่ 13 ตำบลบ้านนา อำเภอ วชิรบารมี จังหวัดพิจิตร 66140 พิกัด 16°31′30″N 100°8′42″E / 16.52500°N 100.14500°E / 16.52500; 100.14500 หมายเลขโทรศัพท์ 0 5669 2198, 0 5669 2234 หมายเลขโทรสาร 0 5669 2198 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. บ้านนา (Ban Na) 16 หมู่บ้าน 2. บึงบัว (Bueng Bua) 12 หมู่บ้าน 3. วังโมกข์ (Wang Mok) 10 หมู่บ้าน 4. หนองหลุม (Nong Lum) 12 หมู่บ้าน โมฌีดัสกรูซิส ============= โมฌีดัสกรูซิส (โปรตุเกส: Mogi das Cruzes) เป็นเมืองในรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ห่างจากเมืองเซาเปาลูไปทางทิศตะวันออก 48 กิโลเมตร จากการสำรวจประชากรในปี ค.ศ. 2010 มีประชากร 387,241 คน มีความหนาแน่นประชากร 533.90 คนต่อกิโลเมตร เมืองมีการผลิตเหล็กและเหล็กกล้า โมฌีดัสกรูซิส สมญา: Terra do Caqui (Land of Persimmon) สถานที่ตั้งของโมฌีดัสกรูซิส พิกัดภูมิศาสตร์: 23°31′22″S 46°11′35″W / 23.52278°S 46.19306°W / -23.52278; -46.19306 ประเทศ  บราซิล ภาค ตะวันออกเฉียงใต้ รัฐ เซาเปาลู การปกครอง  • Mayor Marco Aurélio Bertaiolli (DEM) พื้นที่  • ทั้งหมด [[1 E+8_m²|725 ตร.กม.]] (280 ตร.ไมล์) ความสูง 780.00 เมตร (2,559.055 ฟุต) ประชากร (2010)IBGE  • ทั้งหมด 387,241  • ความหนาแน่น 542.24 คน/ตร.กม. (1,404.4 คน/ตร.ไมล์) เขตเวลา UTC−3 (UTC-3)  • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) UTC−2 (UTC-2) HDI (2000) 0,801 – high เว็บไซต์ Mogi das Cruzes ธง ตราอาร์ม อำเภอสิงหนคร ============ สิงหนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา สิงหนคร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสงขลา อำเภอสิงหนครมีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอสทิงพระ ทิศตะวันออก จรดอ่าวไทย ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเมืองสงขลาและอำเภอหาดใหญ่ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอควนเนียง และอำเภอปากพะยูน (จังหวัดพัทลุง) อำเภอสิงหนครเป็นอำเภอเก่าแก่ เมื่อเจ้าพระยากรุงทองสร้างเมืองสทิงพระ ได้ยกเมืองสิงหนครเป็นเมืองจัตวา มีนามว่า เมืองคชราชา จากตำนานกล่าวว่า เหตุที่ได้ชื่อว่าคชราชานั้น เมื่อเจ้าพระยากรุงทองออกเดินป่าตามทางลงมาทางได้ ได้จับช้างอันมีลักษณะดีงานสรรพด้วยคุณลักษณะที่ต้องตามตำราพรหมศาสตร์ จึงนำช้างที่จับมาได้นั้นผูกเป็นช้างประจำเมืองแล้วให้มีการมหรสพสมโภช 3 วันแล้วตั้งชื่อเมืองตามนามช้างว่า "คชราชา" เมืองสิงหนครแรกตั้งเมื่อ พ.ศ. 1899 สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 รายนามเจ้าเมืองในช่วงต้นนั้นไม่ปรากฏ ปรากฏรายนามเจ้าเมืองตั้งแต่ พ.ศ. 2146 เป็นต้นไป คือ ตวนกูดะโต๊ะ โมกอลล์ 2146-2163 สุลต่านสุไลมาน ชาห์ รามาธิบดี 2163-2212 สุลต่านมุสตาฟา 2212-2223 ตั้งแต่ พ.ศ. 2223 เป็นต้นไป เมืองสงขลากลายเป็นเมืองร้าง หลักฐานของไทยและต่างชาติต่างระบุว่า เจ้าเมืองสงขลาหัวเขาแดงเป็นมุสลิม ในพงศาวดารเมืองสงขลากล่าวว่า สุลต่านสุไลมานเป็นแขกชาวชวาจากเมืองลาไสย เกาะสุมาตรา บันทึกของชาวดัตช์ปี พ.ศ. 2162 เรียกว่าโมกุล และบันทึกของพ่อค้าชาวอังกฤษได้บอกว่า ดะโต๊ะ โมกอลล์ เมืองสงขลาตามแผนกัลปนาวัดต่าง ๆ ขึ้นวัดพะโคะนั้น โมกอลล์เข้ายึดครอง ปรากฏข้อเท็จจริงในแผนผังว่าเป็นชุมชนท่าเรือที่มีคนอาศัยอยู่ก่อนแล้ว มีป้อมปืนตั้งอยู่บนบริเวณใกล้เคียงเมืองสงขลา ก็บ้านของราษฎรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 18-23 ที่เมืองนครศรีธรรมราชเปลี่ยนฐานะจากเมืองพระยามหานครของกรุงสุโขทัยไปสู่ฐานะหัวเมืองของรัฐบาลกลางกรุงศรีอยุธยาที่พยายามขยายพระราชอาณาเขตไปโดยการลดอำนาจบทบาทและอิทธิพลในตอนปลายพุทธศตวรรษที่ 20 เมืองนครศรีธรรมราชถูกแบ่งออกเป็นตัวเมืองย่อย 4 เมืองคือ นครศรีธรรมราชเป็นเมืองเอก มีเมืองไชยา เมืองชุมพร และเมืองพัทลุงเป็นเมืองตรี สภาพเช่นนี้ทำให้ศูนย์อำนาจท้องถิ่นในภาคใต้ (เช่น เมืองนครศรีธรรมราช) ถูกแบ่งออกเป็นเสี่ยง ๆ และอ่อนแอ จึงเป็นโอกาสให้ดะโต๊ะ โมกอลล์ ก่อตั้งเมืองสงขลาของกลางพุทธศตวรรษที่ 22 ตามสภาพภูมิศาสตร์เมืองสงขลาขึ้นอยู่กับพัทลุงแต่ในระยะดังกล่าวเมืองพัทลุงตกใต้อิทธิพลเมืองนครศรีธรรมราช มีหน้าที่ดูแลเมืองสงขลาด้วยในฐานะที่เป็นหัวเมืองถวายดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง และเครื่องราชบรรณาการต่อกรุงศรีอยุธยา แม้เมืองสงขลาจะขึ้นอยู่กับกรุงศรีอยุธยาผ่านนครศรีธรรมราช แต่เจ้าเมืองก็มีอำนาจและค่อนข้างจะเป็นอิสระจากรัฐบาลกลาง โดยสามารถที่จะอนุญาตให้ชาวต่างประเทศเข้าไปทำการค้าอย่างเสรี ไม่ต้องเสียภาษีเพียงแค่เสียของกำนัลเท่านั้น ฐานะของเจ้าเมืองสงขลาจึงแตกต่างไปจากเมืองพัทลุงและเมืองนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่มาจากส่วนกลาง อำนาจของเจ้าเมืองสงขลาน้อยกว่าเจ้าเมืองทั้งสอง และคงจะทัดเทียมกับเจ้าเมืองปัตตานีซึ่งมีฐานะเช่นเดียวกัน การขยายตัวของเมืองสงขลาเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วระหว่างปี พ.ศ. 2164-2166 เมืองสงขลาเริ่มเป็นอิสระจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อพ่อค้าชาวดัตช์ได้มาตั้งสถานีในเมืองสงขลาและเริ่มมีอิทธิพลและความมั่นคงขึ้น หากเดินทางบนถนนเลียบฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ผ่านทางหัวเขาแดงซึ่งอยู่ในตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จะพบว่ามีป้อมโบราณเรียงรายอยู่หลายป้อมทั้งบนยอดเขาเชิงเขาและบริเวณรอบที่ราบของเทือกเขา ถัดจากป้อมออกไปทางด้านเหนือมีคูของตัวเมืองขนาดใหญ่สามารถใช้เป็นท่าเรือ ซึ่งปัจจุบันตื้นเขินแต่มีแนวพอจะมองเห็นได้ถึงที่ตั้งของเมืองโบราณที่เป็นเมืองท่าค้าขาย บริเวณที่เรียกในปัจจุบันว่าบ้านบนเมือง ริมถนนระหว่างช่วงปลายสะพานติณสูลานนท์ใกล้กับป้อมโบราณป้อมหนึ่ง คือบริเวณที่ตั้งของเมืองขนาดใหญ่แห่งนี้ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร หรือ 625 ไร่ ใหญ่กว่าเมืองสทิงพระ 10 เท่า มีหลักฐานปรากฏบันทึกของพ่อค้าชาวยุโรปที่เดินทางมาค้าขายและเรียก Singora ตามสำเนียงชาวพ่อค้าเปอร์เซิยและอาหรับที่เรียกกันว่า เมืองซิงหะรา แปลว่า เมืองบนยอดเขาที่มีทะเล จนกระทั่งเพี้ยนมาจนเป็นชื่อ เมืองสงขลา ในเวลาต่อมา อนึ่ง จากข้อสันนิษฐานของนักวิชาการและนักโบราณคดีกล่าวว่า "สงขลา" ยังอาจมีที่มามาจากคำว่า สงขาล ซึ่งแปลว่าดงเสือ ที่ปรากฏคำบอกเล่าถึงการจับเสือ และการสร้างศาลาริมทางไว้หลบซ่อนเสือ (เรียกว่า ศาลาหลบเสือ) อย่างมิดชิดที่ยังปรากฏให้เห็นในท้องที่ตำบลหัวเขาในปัจจุบัน ประจวบกับในปี พ.ศ. 2171 สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเสด็จสวรรคต เกิดความไม่สงบขึ้นในราชสำนักกรุงศรีอยุธยา เมื่อพระยากลาโหมสุริยวงศ์ได้รับสถาปนาขึ้นครองราชย์สมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เมืองสงขลาจึงถือโอกาสปลดแอกจากไทย ปี พ.ศ. 2158 กองทัพกรุงศรีอยุธยาได้ยกกองทัพมาปราบ แต่ขาดกำลังสนับสนุนจากไพร่พลท้องถิ่นโดยเฉพาะจากนครศรีธรรมราช และป้อมปราการแข็งแกร่งเกินกำลังจะปราบลงได้ พระเจ้าเมืองสงขลาสามารถตั้งตัวเป็นอิสระเป็นเวลาถึง 26 ปีตลอดสมัยพระเจ้าปราสาททอง หลังจากเจ้าเมืองสงขลาองค์แรกสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2211 มุสตาฟาโอรสก็ตั้งตนขึ้นเป็นพระเจ้าเมืองสงขลาองค์ที่สอง เป็นช่วงของการขยายอำนาจของเมืองสงขลาไปยังหัวเมืองใกล้เคียง โดยเฉพาะเมืองพัทลุง ปัตตานี และนครศรีธรรมราช จนถึงรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์ขึ้นครองราชย์ ต่อมาทรงเห็นว่าอังกฤษกำลังเข้าไปมีอิทธิพลในเมืองสงขลาแทนดัตช์ จงยกทัพมาตีเมืองสงขลาในปี พ.ศ. 2223 โดยใช้กลยุทธ์ด้วยการเกลี้ยกล่อมตัดสินบนทหารรักษาป้อมเข้าโจมตีและได้เผาผลาญเมืองจนวอดวาย คงเหลือแต่ป้อมและซากป้อม 13 ป้อม ที่ราบ 5 ป้อม บนหัวเข้าแดงปากน้ำ 1 ป้อม บนเขาม่วงค่าย 3 ป้อม เชิงเขาน้อย 1 ป้อม และริมอ่าวไทย 3 ป้อม ซึ่งปัจจุบันบางป้อมได้กลายเป็นทะเลแต่ยังเห็นซากทับกองอยู่ในบริเวณท่าเรือน้ำลึก ปัจจุบันยังเหลือป้อมที่ยังคงสภาพสมบูรณ์ กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนไว้ 9 ป้อม คือป้อมที่เรียงรายอยู่บนเชิงหัวเขาแดง บนเขาม่วงค่าย และป้อมเชิงเขาน้อย มีลักษณะเป็นป้อมรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่ละด้านมีช่องเสมาสำหรับวางปืนใหญ่ ยังยืนยันถึงความแข็งแกร่งของป้อมปราการป้องกันเมือสงขลาเขาแดง ส่วนร่องรอยของการเข้ามาพำนักที่สงขลามีหลักฐานในปัจจุบันคือ ที่ฝังศพของพวกดัตช์ 22 สุสาน ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองสงขลาริมทางถนนสงขลา-ระโนดที่หัวเขาแดงไปทางทิศเหนือประมาณ 1,700 เมตร อยู่ใกล้กับที่ฝังศพสุสานสุลต่านสุไลมาน ชาวบ้านเรียกว่าทวดหุมหรือมะระหุมตั้งอยู่ในตำบลหัวเขา ที่ฝังศพมีศาลาคร่อมก่อด้วยอิฐไม่มีฝาผนัง หลังคาทรงปั้นหยา มุงกระเบื้องดินเผา เป็นที่เคารพของชาวบ้านหัวเขา และเชื่อกันว่าลูกหลานมะระหุ่มคือต้นตระกูลของสกุล ณ พัทลุง ซึ่งไปมีอำนาจเป็นเจ้าเมืองพัทลุงในช่วงหลัง ในเวลาต่อมา ท้องที่ที่ตั้งเป็นเมืองสิงหนคร (ชิงหะรา ซิงหะรา หรือ "สงขลา") นี้เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองสงขลา จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2531 ทางราชการได้แบ่งพื้นที่ 11 ตำบลออกมาตั้งเป็น กิ่งอำเภอสิงหนคร โดยใช้ชื่อตามชื่อเมืองสงขลาโบราณข้างต้น และต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอสิงหนครเป็น อำเภอสิงหนคร ตามประกาศราชกิจจานุเบกษาลงวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2534 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม ปีเดียวกัน อำเภอสิงหนครแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 11 ตำบล 77 หมู่บ้าน ได้แก่ ท้องที่อำเภอสิงหนครประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 10 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองสิงหนคร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชิงโค (เฉพาะหมู่ที่ 1-4 และบางส่วนของหมู่ที่ 5 และ 6) ตำบลทำนบ (เฉพาะบางส่วนของหมู่ที่ 1 และ 3) ตำบลสทิงหม้อทั้งตำบล และตำบลหัวเขาทั้งตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลม่วงงามทั้งตำบล เทศบาลตำบลชะแล้ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชะแล้ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลชิงโค ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชิงโค (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองสิงหนคร) องค์การบริหารส่วนตำบลทำนบ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลทำนบ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองสิงหนคร) องค์การบริหารส่วนตำบลรำแดง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลรำแดงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวัดขนุน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวัดขนุนทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลปากรอ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลปากรอทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลป่าขาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่าขาดทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลบางเขียด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบางเขียดทั้งตำบล บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอสิงหนคร ทะเลคู่ตระการ น้ำตาลเลิศรส เรืองยศวัฒนธรรม หัตถกรรมล้ำค่า เมืองท่าแดนใต้ ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอสิงหนคร อักษรโรมัน Amphoe Singhanakhon จังหวัด สงขลา ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 228.0 ตร.กม. ประชากร 82,349 คน (พ.ศ. 2557) ความหนาแน่น 361.17 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 9015 รหัสไปรษณีย์ 90280 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอสิงหนคร ถนนสงขลา- ระโนด ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 90280 พิกัด 7°14′18″N 100°33′10″E / 7.23833°N 100.55278°E / 7.23833; 100.55278 หมายเลขโทรศัพท์ 0 7433 1422 หมายเลขโทรสาร 0 7433 1422 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ชิงโค (Ching Kho) 10 หมู่บ้าน 7. ปากรอ (Pak Ro) 6 หมู่บ้าน 2. สทิงหม้อ (Sathing Mo) 6 หมู่บ้าน 8. ป่าขาด (Pa Khat) 5 หมู่บ้าน 3. ทำนบ (Thamnop) 7 หมู่บ้าน 9. หัวเขา (Hua Khao) 8 หมู่บ้าน 4. รำแดง (Ram Daeng) 7 หมู่บ้าน 10. บางเขียด (Bang Khiat) 5 หมู่บ้าน 5. วัดขนุน (Wat Khanun) 8 หมู่บ้าน 11. ม่วงงาม (Muang Ngam) 10 หมู่บ้าน 6. ชะแล้ (Chalae) 5 หมู่บ้าน อำเภอยางตลาด ============ ยางตลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ ยางตลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดกาฬสินธุ์ อำเภอยางตลาดเดิมชื่อ อำเภอปจิมกาฬสินธุ์ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2451 หลังจากมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ และแบ่งเขตการปกครองออกเป็นมณฑล จังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน อำเภอปจิมกาฬสินธุ์ตั้งที่ว่าการอยู่ที่บ้านดงเค็ง หมู่ที่ 4 ตำบลดอนสมบูรณ์ ลักษณะอาคารที่ว่าการอำเภอเป็นอาคารสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง ต่อมาทางราชการเห็นว่า การตั้งชื่ออำเภอโดยใช้ทิศทางเป็นหลักจะทำให้ประชาชนเข้าใจยาก จึงเปลี่ยนชื่ออำเภอปจิมกาฬสินธุ์ ("กาฬสินธุ์ตะวันตก") เป็น อำเภอภูแล่นช้าง ใน พ.ศ. 2456 ทั้งนี้เพื่อรักษาชื่อเมืองภูแล่นช้างไว้ไม่ให้สูญหายไป หลังจากนั้นทางราชการได้ย้ายที่ว่าการอำเภอภูแล่นช้างจากบ้านดงเค็งมาตั้งที่บ้านยางซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของหนองหมาจอก ใน พ.ศ. 2460 จึงมีการเปลี่ยนชื่ออำเภอจาก "ภูแล่นช้าง" เป็น อำเภอยางตลาด ตามชื่อบ้านยางซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีความเจริญมาจนถึงปัจจุบัน อำเภอยางตลาดตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอห้วยเม็กและอำเภอหนองกุงศรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองกาฬสินธุ์ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอฆ้องชัย และอำเภอกันทรวิชัย (จังหวัดมหาสารคาม) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเชียงยืน (จังหวัดมหาสารคาม) อำเภอยางตลาดแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 15 ตำบล 208 หมู่บ้าน ท้องที่อำเภอยางตลาดประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 17 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลโคกศรี ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลอุ่มเม่าและบางส่วนของตำบลดอนสมบูรณ์ เทศบาลตำบลยางตลาด ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลยางตลาด เทศบาลตำบลบัวบาน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบัวบานทั้งตำบล เทศบาลตำบลอิตื้อ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอิตื้อทั้งตำบล เทศบาลตำบลหัวนาคำ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหัวนาคำทั้งตำบล เทศบาลตำบลเขาพระนอน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเขาพระนอนทั้งตำบล เทศบาลตำบลอุ่มเม่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอุ่มเม่า (นอกเขตเทศบาลตำบลโคกศรี) เทศบาลตำบลโนนสูง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโนนสูงทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลยางตลาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลยางตลาด (นอกเขตเทศบาลตำบลยางตลาด) องค์การบริหารส่วนตำบลหัวงัว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหัวงัวทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเว่อ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเว่อทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอิเฒ่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองอิเฒ่าทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลดอนสมบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลดอนสมบูรณ์ (นอกเขตเทศบาลตำบลโคกศรี) องค์การบริหารส่วนตำบลนาเชือก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาเชือกทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลคลองขาม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคลองขามทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาดีทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองตอกแป้น ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองตอกแป้นทั้งตำบล "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนนามอำเภอ". ราชกิจจานุเบกษา 30 (0 ง): 1619–1620. 19 ตุลาคม 2456.  "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ". ราชกิจจานุเบกษา 34 (0 ก): 40–68. 29 เมษายน 2460.  บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอยางตลาด เร่วพันธุ์ดีดงระแนง แหล่งรวมการเกษตร เขตกุ้งก้ามกรามรสเลิศ ถิ่นกำเนิดวงโปงลาง เส้นทางสู่อินโดจีน แผ่นดินแห่งนักปราชญ์ ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอยางตลาด อักษรโรมัน Amphoe Yang Talat จังหวัด กาฬสินธุ์ ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 621.084 ตร.กม. ประชากร 129,372 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 208.30 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 4607 รหัสไปรษณีย์ 46120 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอยางตลาด ถนนถีนานนท์ ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 พิกัด 16°24′8″N 103°22′23″E / 16.40222°N 103.37306°E / 16.40222; 103.37306 หมายเลขโทรศัพท์ 0 4389 1162 หมายเลขโทรสาร 0 4389 1162 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ยางตลาด (Yang Talat) 20 หมู่บ้าน 9. ดอนสมบูรณ์ (Don Sombun) 14 หมู่บ้าน 2. หัวงัว (Hua Ngua) 13 หมู่บ้าน 10. นาเชือก (Na Chueak) 14 หมู่บ้าน 3. อุ่มเม่า (Um Mao) 12 หมู่บ้าน 11. คลองขาม (Khlong Kham) 19 หมู่บ้าน 4. บัวบาน (Bua Ban) 23 หมู่บ้าน 12. เขาพระนอน (Khao Phra Non) 9 หมู่บ้าน 5. เว่อ (Woe) 11 หมู่บ้าน 13. นาดี (Na Di) 9 หมู่บ้าน 6. อิตื้อ (Itue) 12 หมู่บ้าน 14. โนนสูง (Non Sung) 12 หมู่บ้าน 7. หัวนาคำ (Hua Na Kham) 19 หมู่บ้าน 15. หนองตอกแป้น (Nong Tok Paen) 10 หมู่บ้าน 8. หนองอิเฒ่า (Nong I Thao) 11 หมู่บ้าน อำเภอท่าช้าง ============ ท่าช้าง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสิงห์บุรี ท่าช้าง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสิงห์บุรี อำเภอท่าช้าง เดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี ต่อมาได้มีการแยกตำบลในอำเภอพรหมบุรี ซึ่งอยู่ห่างไกลจำนวน 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลถอนสมอ ตำบลวิหารขาว และตำบลโพประจักษ์ มารวมเข้าด้วยกัน สาเหตุที่แยกออกมาเป็นอำเภอ เพราะประชาชนในพื้นที่ 3 ตำบลดังกล่าว ไม่ได้รับความสะดวกในการติดต่อกับราชการ จะติดต่อได้โดยทางน้ำซึ่งต้องผ่านประตูของกรมชลประทาน ทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ ประตูน้ำพระงามและประตูน้ำยางมณี ทางบกไม่มีเส้นทางติดต่อ ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาก ประกอบกับเคยมีการตั้งอำนวยการเฉพาะกิจเพื่อปราบปรามโจรผู้ร้ายจับคนเรียกค่าไถ่ ณ ที่ตลาดท่าช้างในปัจจุบัน ใน พ.ศ. 2503 ได้รับการจัดตั้งเป็น กิ่งอำเภอท่าช้าง ขึ้นกับอำเภอพรหมบุรี และใน พ.ศ. 2506 ได้รับการยกฐานะเป็น อำเภอท่าช้าง อำเภอท่าช้างตั้งอยู่ตอนใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอค่ายบางระจัน อำเภอเมืองสิงห์บุรี และอำเภอพรหมบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอพรหมบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอโพธิ์ทองและอำเภอแสวงหา (จังหวัดอ่างทอง) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอค่ายบางระจัน อำเภอท่าช้างแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ท้องที่อำเภอท่าช้างประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลถอนสมอ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลถอนสมอและตำบลพิกุลทองทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลโพประจักษ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพประจักษ์ทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลวิหารขาว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวิหารขาวทั้งตำบล สถานที่สำคัญ ๆ ในอำเภอได้แก่ วัดพิกุลทอง พระอารามหลวง วัดโบสถ์ วัดวิหารขาว วัดโสภา วัดเสาธงหิน วัดจำปาทอง วัดเสมาทอง โรงเรียนท่าช้างวิทยาคาร โรงเรียนวัดโบสถ์ โรงเรียนวัดถอนสมอ โรงเรียนวัดโสภา โรงเรียนวัดพิกุลทอง โรงเรียนวัดวิหารขาว โรงเรียนชุมชนวัดเสาธงหิน โรงเรียนอนุบาลท่าช้าง โรงเรียนใจเพียรวิทยานุสรณ์ ธนาคารออมสิน สาขาท่าช้าง วัดขุนโลก วัดถอนสมอ วัดดงควายโทน วัดน้อย กะดีแดง วัดใหญ่ กะดีแดง วัดน้อย เสาธงหิน วัดมะปรางหวาน วัดบ้านสร้าง วัดสาคู วัดตะโก วัดกุฎิ ละเมาะยุบ วัดกุฎ พิกุลทอง วัดเศวตรฉัตร วัดสน่ำ วัดเจดีย์ กะดีแดง วัดฉิ้ง โรงพยาบาลท่าช้าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลถอนสมอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิกุลทอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวิหารขาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโพประจักษ์ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ยกฐานะตำบลขึ้นเป็นกิ่งอำเภอ". ราชกิจจานุเบกษา 77 (108 ง): 2562–2564. 27 ธันวาคม 2503.  "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอบ่อพลอย ... และอำเภอกุดชุม พ.ศ. ๒๕๐๖". ราชกิจจานุเบกษา 80 (72): 362–366. 16 กรกฎาคม 2506.  เว็บไซต์วัดพิกุลทอง พระอารามหลวง บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก อำเภอท่าช้าง ถิ่นช้างศึกครั้งกรุงศรี บารมีหลวงพ่อแพ ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอท่าช้าง อักษรโรมัน Amphoe Tha Chang จังหวัด สิงห์บุรี ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 34.4 ตร.กม. ประชากร 14,556 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 423.14 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 1705 รหัสไปรษณีย์ 16140 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอท่าช้าง ถนนท่าช้าง-ท่าข้าม ตำบลถอนสมอ อำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรี 16140 พิกัด 14°45′42″N 100°23′24″E / 14.76167°N 100.39000°E / 14.76167; 100.39000 หมายเลขโทรศัพท์ 0 3659 5125 หมายเลขโทรสาร 0 3659 5125 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. ถอนสมอ (Thon Samo) 2. โพประจักษ์ (Pho Prachak) 3. วิหารขาว (Wihan Khao) 4. พิกุลทอง (Phikun Thong) พ.ศ. 2550 ========= พุทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น ปีกุน นพศก จุลศักราช 1369 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) ปีจัดงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 120 ปี ความสัมพันธ์การทูตไทย-ญี่ปุ่น ปีขั้วโลกสากล (International Polar Year) ปีฟิสิกส์สุริยะสากล (International Heliophysical year) พุทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น ปีกุน นพศก จุลศักราช 1369 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) ปีจัดงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 120 ปี ความสัมพันธ์การทูตไทย-ญี่ปุ่น ปีขั้วโลกสากล (International Polar Year) ปีฟิสิกส์สุริยะสากล (International Heliophysical year) สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2550 พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489-13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) นายกรัฐมนตรี : พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 - 28 มกราคม พ.ศ. 2551) 1 มกราคม - เริ่มใช้เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ (ISBN) แบบ 13 หลัก แทนแบบ 10 หลัก ปัน กี มุน ชาวเกาหลีใต้ เข้ารับตำแหน่งเลขาธิการสหประชาชาติ ต่อจาก โคฟี อันนัน สาธารณรัฐบัลแกเรียและประเทศโรมาเนียเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป สาธารณรัฐสโลวีเนียเปลี่ยนสกุลเงินจากโทลาร์เป็นยูโร สาธารณรัฐแองโกลาเข้าเป็น สมาชิกกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (โอเปค) เครื่องบินสายการบินภายในประเทศอดัมแอร์ที่ 574 ของสาธารณรัฐอินโดนีเซียหายสาบสูญ ซากของมันได้รับการค้นพบ 10 วันให้หลัง แต่ไม่พบผู้โดยสารที่อยู่บนเครื่องบินลำดังกล่าว ราชอาณาจักรเดนมาร์กปฏิรูปเขตการปกครอง จาก 13 มณฑลหลักและอีก 3 เทศบาลนครอิสระ มาเป็น 5 แคว้นหลัก 11 มกราคม สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลก (ดับเบิลยูทีโอ) ประเทศจีนทดลองยิงทำลายดาวเทียมของตนในอวกาศด้วยขีปนาวุธ ทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์จากประเทศอื่น 12 มกราคม - สถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำกรุงเอเธนส์ สาธารณรัฐเฮลเลนิก (ประเทศกรีซ) ถูกโจมตีด้วยจรวดอาร์พีจี ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเล็กน้อย และไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บ 14 มกราคม - ไรอัน ฮอลล์ นักวิ่งชาวอเมริกัน ทำลายสถิติการวิ่งฮาล์ฟมาราธอนของสหรัฐอเมริกา 18 มกราคม - ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาพยนตร์ไทยที่มีทุนสร้างสูงสุดในประวัติศาสตร์ เปิดฉายภาคแรก หงประกันหงสา เป็นวันแรก 22 มกราคม - เกิดเหตุระเบิดในตลาดกลางกรุงแบกแดด สาธารณรัฐอิรัก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 88 ราย 29 มกราคม กระทรวงสาธารณสุขประกาศใช้มาตรการบังคับใช้สิทธิ (compulsory licensing) กับยารักษาโรคเอดส์ชนิดดื้อยา เอฟฟาไวเรนซ์ (Efavirenz) คาเลตรา (Kaletra) และยาละลายลิ่มเลือดอุดตัน พลาวิคซ์ (Plavix) ซึ่งเปิดทางให้ไทยผลิตยาเอง มีราคาถูกลง และถูกต้องตามปฏิญญาโดฮาขององค์การการค้าโลก เกิดเหตุระเบิดพลีชีพในร้านขายขนมปังในรัฐอิสราเอล ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 3 ราย 30 มกราคม - ไมโครซอฟท์เปิดตัว "วินโดวส์วิสตา" ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ตัวใหม่ล่าสุด 2 กุมภาพันธ์ - คณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ (ไอพีซีซี) ลงความเห็นว่าเป็นไปได้อย่างยิ่งที่มนุษย์มีส่วนทำให้เกิดภาวะโลกร้อน และคาดว่าปลายคริสต์ศตวรรษที่ 21 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มขึ้น 1.8-4 ?C พร้อมกับระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น 3 กุมภาพันธ์ สาธารณรัฐอินโดนีเซียประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหลังจากเกิดวาตภัยจากปรากฏการณ์เอลนีโญ เกิดเหตุระเบิดรถบรรทุกกลางฝูงชนในตลาดกลางกรุงแบกแดด สาธารณรัฐอิรัก เป็นผลให้มีผู้เสียชีวิต 135 ราย และบาดเจ็บ 339 ราย 4 กุมภาพันธ์ ซูเปอร์โบวล์ XLI จัดขึ้นที่สนามกีฬาดอลฟิน เมืองไมอามี รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ทีมฟุตบอลทีมชาติสิงคโปร์ได้รับตำแหน่งชนะเลิศจากการแข่งขันรายการฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน ครั้งที่ 6 ด้วยการเอาชนะทีมฟุตบอลทีมชาติไทยด้วยประตูรวม 3 ประตูต่อ 2 หลังจากที่เสมอกัน 1 ประตูต่อ 1 ในรอบชิงชนะเลิศนัดสุดท้าย ณ สนามศุภชลาศัย กรุงเทพมหานคร 10 กุมภาพันธ์ - Wonder Girls 1 ใน 2 เกิร์ลแบนด์อันดับ 1 ของเกาหลีเปิดตัวเป็นครั้งแรก 13 กุมภาพันธ์ - การเจรจา 6 ฝ่ายแก้วิกฤตินิวเคลียร์คืบหน้า หลังเกาหลีเหนือยอมปิดเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์หลักเป็นการชั่วคราวเพื่อแลกกับน้ำมัน และยอมให้ไอเออีเอเข้าไปตรวจสอบ 18 กุมภาพันธ์ - ฉายขบวนเซ็นไทลำดับที่ 31 คือ ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ 28 กุมภาพันธ์ - ยานนิวฮอไรซันส์ ผ่านใกล้ดาวพฤหัสบดี ก่อนมุ่งหน้าต่อไปยังดาวพลูโต 1 มีนาคม - เริ่มปีขั้วโลกสากล 3-4 มีนาคม - เกิดจันทรุปราคาเต็มดวง มองเห็นได้ในประเทศไทย 4 มีนาคม - การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของลัทธิฟาสซิสต์ สาธารณรัฐเอสโตเนีย และสาธารณรัฐปกครองตนเองอับฮาเซีย 7 มีนาคม - เกิดไฟไหม้เครื่องบินโบอิง 737-400 ของสายการบินการูด้าแอร์ ขณะลงจอดที่สนามบินจังหวัดย็อกยาการ์ตา บนเกาะชวาทางตอนกลางของประเทศอินโดนีเซีย ผู้โดยสารส่วนหนึ่งรวมทั้งนักบินถูกไฟคลอกเสียชีวิต 49 คน มีผู้รอดชีวิต 90 คน 8 มีนาคม - สถานีโทรทัศน์ไอทีวีเปลี่ยนเป็นทีไอทีวี เปลี่ยนฐานะของสถานีโทรทัศน์จากเอกชนเป็นสถานีของรัฐบาล 11 มีนาคม - เริ่มเวลาออมแสงในสหรัฐอเมริกาและหลายส่วนในแคนาดา โดยมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมเร็วขึ้น 4-5 สัปดาห์ล่วงหน้า ตามนโยบายประหยัดพลังงานใหม่ 13 มีนาคม - วันก่อตั้งแนวร่วมสหชาติ 19 มีนาคม - เกิดสุริยุปราคาบางส่วน เห็นได้ในเอเชียใต้ เอเชียตะวันออก และอะแลสกา 23 มีนาคม - เครื่องเล่นเกม "โซนี่เพลย์สเตชัน 3" ออกวางจำหน่ายทั่วโลก 29 มีนาคม - วันเปิดตัววง "คารา" เกิร์ลกรุ๊ป เกาหลีใต้ ของสังกัดค่าย dsp media 2 เมษายน เวลส์สั่งห้ามการสูบบุหรี่ในที่สาธาณะและสถานที่ทำงาน เกิดธรณีพิบัติภัยในหมู่เกาะโซโลมอนวัดแรงสั่นสะเทือนได้ 8.1 ริกเตอร์ และยังส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามิ 16 เมษายน - โช ซึงฮึย ก่อเหตุสังหารหมู่ที่มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนียเทคในสหรัฐฯ มีผู้เสียชีวิต 33 คน นับเป็นเหตุการณ์ฆ่าหมู่ในสถานศึกษาที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์สหรัฐฯ 17 เมษายน - เมืองอินชอน ประเทศเกาหลีใต้ ได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพ เอเชียนเกมส์ 2014 3 พฤษภาคม การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐบาลท้องถิ่นของสกอตแลนด์ การเลือกตั้งรัฐบาลท้องถิ่นของอังกฤษ 5 พฤษภาคม - เครื่องบินสายการบินเคนยาแอร์เวย์ส เที่ยวบินที่เคคิว 507 ตกในสาธาณรัฐแคเมอรูน 6 พฤษภาคม นิโกลาส์ ซาร์โกซี ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐฝรั่งเศส โดยเอาชนะเซโกแลน โรยาล ด้วยคะแนนร้อยละ 53 ของคะแนนเสียงทั้งหมด สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลเอฟเอ พรีเมียร์ลีก ฤดูกาลที่ 2006/2007 10 พฤษภาคม - นายโทนี แบลร์ นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ประกาศว่าจะลาออกจากตำแหน่ง ในวันที่ 27 มิถุนายน โดยสละตำแหน่ง ให้นายกอร์ดอน บราวน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป 16 พฤษภาคม เวลา 15.56 น. เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ทางตะวันตกของประเทศลาว รู้สึกได้บนอาคารสูงที่กรุงเทพฯ สร้างความเสียหายให้กับยอดพระธาตุจอมกิตติ จ.เชียงราย นีโกลา ซาร์โกซี เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ต่อจากนายชาก ชีรัก 19 พฤษภาคม สโมสรฟุตบอลเชลซีได้รับตำแหน่งชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลเอฟเอ คัพ 2007 (อังกฤษ) ณ สนามกีฬานิวเวมบรีย์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ หลังเอาชนะสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 ประตูต่อ 0 ในช่วงต่อเวลาพิเศษ โดยการแข่งขันนัดนี้ยังใช้เป็นนัดเปิดสนามกีฬานิวเวมบลีย์อย่างเป็นทางการอีกด้วย ทีมฟุตซอลทีมชาติอิหร่านได้รับตำแหน่งชนะเลิศในการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย 2007 ณ ญี่ปุ่น ด้วยการเอาชนะทีมฟุตซอลทีมชาติญี่ปุ่นในรอบชิงชนะเลิศ 4 ประตูต่อ 1 23 พฤษภาคม - สโมสรฟุตบอลเอซี มิลาน ได้รับตำแหน่งชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลยูฟ่า แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาลที่ 2006 ถึง 2007 ณ สนามกีฬาโอลิมปิคสเตเดียม กรุงเอเธนส์ สาธารณรัฐเฮลเลนิก (ประเทศกรีซ) ด้วยการเอาชนะสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในรอบชิงชนะเลิศ 2 ประตูต่อ 1 24 พฤษภาคม - การเลือกตั้งทั่วไปในสาธารณรัฐไอร์แลนด์ 25 พฤษภาคม ภาพยนตร์เรื่อง "ผจญภัยล่าโจรสลัดสุดขอบโลก" (Pirates of the Caribbean: At World's End) เปิดฉายรอบปฐมทัศน์ ฉลองครบรอบ 30 ปีของภาพยนตร์เรื่อง "สตาร์วอร์ส" ของจอร์จ ลูคัส 27 พฤษภาคม - การเลือกตั้งในเขตการปกครองตนเองของราชอาณาจักรสเปนทุกเขต ยกเว้นกาลิเซีย อันดาลูเซีย แคว้นบาสก์ และคาเทโลเนีย 30 พฤษภาคม - ตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัยตัดสินคดียุบพรรค 5 พรรคการเมือง โดยมีมติยุบพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า พรรคไทยรักไทย พรรคพัฒนาชาติไทย และพรรคแผ่นดินไทย 5 มิถุนายน - ยานเมสเซนเจอร์โคจรผ่านใกล้ดาวศุกร์ 8 มิถุนายน - องค์การนาซาส่งกระสวยอวกาศแอตแลนติสขึ้นบินพร้อมนักบินอวกาศ 7 คน เพื่อเดินทางไปในภารกิจต่อเติมสถานีอวกาศนานาชาติ 9 มิถุนายน - เวลา 9.00 น. สถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ ร่วมใจกันเปิดเพลงพ่อแห่งแผ่นดินอย่างพร้อมเพรียงกัน หวังจะช่วยสร้างความรัก ความสามัคคีของชาวไทย เพื่อถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 11 มิถุนายน - คตส. มีคำสั่งอายัดทรัพย์สิน บัญชีเงินฝากจำนวน 21 บัญชีที่ได้จากกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป และบัญชีเงินฝากที่ใช้ชื่อทักษิณ ชินวัตรและพจมาน ชินวัตร เป็นการชั่วคราว โดยเปิดโอกาสให้เจ้าของทรัพย์สินสามารถยื่นคัดค้านเพื่อพิสูจน์การได้มา ภายใน 60 วัน 14 มิถุนายน - ซานแอนโตนิโอ สเปอรส์ มีชัยเหนือคลีฟแลนด์ คาวาเลียส์ 4-0 เกม คว้าแชมป์บาสเกตบอลเอ็นบีเอ ฤดูกาล 2006-2007 โดยโทนี พาร์กเกอร์ ได้รับเลือกเป็นผู้เล่นทรงคุณค่า 19 มิถุนายน - เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 4.5 ริกเตอร์ จุดศูนย์กลางอยู่ที่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 26 มิถุนายน-15 กรกฎาคม - การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ (โคปาอเมริกา 2007) ณ สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา 27 มิถุนายน - โทนี แบลร์ พ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร โดยผู้ที่เข้าดำรงตำแหน่งแทนได้แก่ กอร์ดอน บราวน์ 30 มิถุนายน-10 กรกฎาคม - การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศปาปัวนิวกินี 30 มิถุนายน-22 กรกฎาคม - การแข่งขันฟุตบอลโลกรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี (ฟีฟ่า ยู-20 เวิร์ลด์คัพ 2007) ณ ประเทศแคนาดา 1 กรกฎาคม แคนาดาฉลองครบรอบ 140 ปีแห่งการก่อตั้งประเทศ อังกฤษสั่งห้ามการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะและสถานที่ทำงาน เครือรัฐออสเตรเลียสั่งห้ามการสูบบุหรี่ในพับและคลับที่ตั้งอยู่ในเขตรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย ครบรอบ 10 ปีแห่งการก่อตั้งเขตบริหารพิเศษฮ่องกงของสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐออสเตรียออกกฎหมายลดอายุขั้นต่ำของผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 ปีเหลือ 16 ปี การแสดงคอนเสิร์ตรำลึกถึงเจ้าหญิงไดอานา ณ สนามกีฬาเวมบลีย์ กรุงลอนดอน อังกฤษ โดยใช้ชื่อคอนเสิร์ตว่า "คอนเสิร์ตฟอร์ไดอานา" 7 กรกฎาคม ประกาศผลการโหวตคัดเลือก 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ ณ กรุงลิสบอน สาธารณรัฐโปรตุเกส การแสดงมหกรรมคอนเสิร์ต "ไลฟ์เอิร์ธ" เพื่อรณรงค์ให้ผู้คนตระหนักในปัญหาปรากฏการณ์โลกร้อน 7-29 กรกฎาคม การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 14 ณ ราชอาณาจักรไทย สาธารณรัฐอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เป็นครั้งแรกของการแข่งขันรายการนี้ที่มีเจ้าภาพร่วมถึง 4 ประเทศ) การแข่งขันจักรยานทูร์ เดอ ฟรองซ์ 2007 13 กรกฎาคม - พิธีเปิดการแข่งขันกีฬาแพนอเมริกันเกมส์ ครั้งที่ 15 ณ รัฐรีโอเดจาเนโร สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล 15 กรกฎาคม – ทีมฟุตบอลทีมชาติบราซิลชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 42 ณ สนามกีฬาโคเซปาเชงโชโรเมโร เมืองมาราไกโบ รัฐซูเลีย สาธารณรัฐโบลีวาร์แห่งเวเนซุเอลา 21 กรกฎาคม - กำหนดวางจำหน่ายวรรณกรรมแฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาอังกฤษ ชุดที่ 7 (ชุดสุดท้าย) ตอน แฮร์รี่ พอตเตอร์กับเครื่องรางยมทูต 21 กรกฎาคม-8 สิงหาคม - งานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ 21 ณ ไฮแลนด์สปาร์ค เอซเซ็กซ์ อังกฤษ 29 กรกฎาคม - ทีมฟุตบอลทีมชาติอิรักชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชีย ครั้งที่ 14 ณ สนามกีฬาบังการ์โน กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 1 สิงหาคม - ฉลองครบรอบ 100 ปี แห่งการก่อตั้งคณะลูกเสือแห่งชาติทั่วโลก 19 สิงหาคม - การลงประชามติ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 28 สิงหาคม - จันทรุปราคาเต็มดวง โดยผู้ที่อยู่ในเขตแดนของราชอาณาจักรไทยสามารถมองเห็นปรากฏการณ์นี้ในช่วงเวลาหัวค่ำ 8-9 กันยายน - การประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก ที่ซิดนีย์ 11 กันยายน - สุริยุปราคาบางส่วน (ตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ และบางส่วนของทวีปแอนตาร์กติกา) 16 กันยายน - เกิดอุบัติเหตุเครื่องบินโดยสารของสายการบินวันทูโก ประสบอุบัติเหตุไถลออกจากทางวิ่งขณะร่อนลงจอดที่สนามบินภูเก็ต เครื่องเกิดการระเบิด ทำให้มีผู้เสียชีวิต 89 คน บาดเจ็บ 41 คน 19 กันยายน - นวน เจีย อดีตสมาชิกผุ้นำเขมรแดงถูกจับกุมข้อหาอาชญากรสงครามและก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติระหว่างที่เขมรแดงเรืองอำนาจในกัมพูชา กันยายน - องค์การนาซาส่งยานดอว์นขึ้นสู่อวกาศในภารกิจสำรวจดาวเคราะห์น้อย 2 ดวง 1 ตุลาคม - กำหนดอายุขั้นต่ำของผู้ที่สามารถซื้อผลิตภัณฑ์ยาสูบได้ในอังกฤษและเวลส์เพิ่มขึ้นจาก 16 ปีเป็น 18 ปี 9 ตุลาคม - การเลือกตั้งในมลรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ของประเทศแคนาดา 4 พฤศจิกายน การเลือกตั้งทั่วไปในสาธารณรัฐตุรกี สิ้นสุดเวลาออมแสงในสหรัฐอเมริกาและพื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศแคนาดาก่อนกำหนดเวลาจริง 1 อาทิตย์ ตามกฎหมาย Energy Policy Act of 2005 12 พฤศจิกายน - การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550 : วันรับสมัครผู้สมัครในระบบเขตวันแรก และพรรคประชาธิปัตย์ปราศรัยใหญ่ครั้งแรกที่วงเวียนใหญ่ 19 ธันวาคม - การเลือกตั้งประธานาธิบดีในสาธารณรัฐเกาหลี 21 ธันวาคม - การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550 : พรรคพลังประชาชนปราศรัยใหญ่เป็นครั้งสุดท้ายที่สนามหลวง ในขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ปราศรัยที่ลานพระบรมรูปทรงม้า และพรรคชาติไทยปราศรัยที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 23 ธันวาคม - การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550 24 ธันวาคม - รัฐบาลเนปาลประกาศว่าสถาบันพระมหากษัตริย์จะถูกยกเลิกในปีหน้า และจะมีการประกาศตั้งสาธารณรัฐใหม่ 27 ธันวาคม - เบนาซีร์ บุตโต อดีตนายกรัฐมนตรีปากีสถาน ถูกลอบสังหาร และมีผู้เสียชีวิตอีกอย่างน้อย 20 คน โดยเหตุระเบิดในการหาเสียงในราวัลปินดี 30 ธันวาคม - สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงแต่งตั้ง เจ้าฟ้าหญิงมาร์กาเร็ต มกุฎราชกุมารีแห่งโรมาเนีย เป็นผู้พิทักษ์ราชบัลลังก์แห่งโรมาเนีย ถึงแม้ว่าระบอบกษัตริย์ของโรมาเนียจะไม่มีแล้ว แต่ทางรัฐบาลของโรมาเนียยังให้สิทธิในการเสด็จพระราชดำเนินมาประทับในโรมาเนียได้ 18 กุมภาพันธ์ - วันตรุษจีน 3 มีนาคม - วันมาฆบูชา 13-15 เมษายน - สงกรานต์ 10 พฤษภาคม - วันพืชมงคล 31 พฤษภาคม - วันวิสาขบูชา 29 กรกฎาคม - วันอาสาฬหบูชา 30 กรกฎาคม - วันเข้าพรรษา 27 สิงหาคม - วันสารทจีน 11 กันยายน - วันแรกของเดือนรอมะฎอน 26 ตุลาคม - วันออกพรรษา 24 พฤศจิกายน - วันลอยกระทง 25 ธันวาคม - วันคริสต์มาส ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2550 10 เมษายน - เจ้าหญิงอารียานแห่งเนเธอร์แลนด์พระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์และสมเด็จพระราชินีแม็กซิมาแห่งเนเธอร์แลนด์ 18 เมษายน - เจ้าชายเลโรโทรี เซเอโซ มกุฎราชกุมารแห่งเลโซโท พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท และ สมเด็จพระราชินีมาเซเนต โมฮาโต เซเอโซ 21 เมษายน - เจ้าหญิงอิซาเบลลาแห่งเดนมาร์กพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กและเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก 29 เมษายน - อินฟันตาโซฟีอาแห่งสเปนพระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 แห่งสเปนและสมเด็จพระราชินีเลตีเซียแห่งสเปน 18 ตุลาคม - ณัฐพัชร์ นิมจิรวัฒน์ นักแสดงและนายแบบเด็กชาวไทย 17 ธันวาคม - เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น พระโอรสในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์และโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2550 8 มกราคม - จูหลิง ปงกันมูล ข้าราชการชาวไทย (เกิด มีนาคม พ.ศ. 2522) 12 มกราคม - สุข สูงสว่าง นักธุรกิจชาวไทย 13 มกราคม - ไมเคิล เบรกเคอร์ นักดนตรีชาวอเมริกัน 19 มกราคม - สก็อตต์ ชาร์ลส์ บิเกอโลว์ นักแสดงมวยปล้ำชาวอเมริกัน (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2504) 21 มกราคม - ปรีชา เฉลิมวณิชย์ ข้าราชการชาวไทย (เกิด 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) 29 มกราคม - พลตำรวจตรี หม่อมราชวงศ์เจตจันทร์ ประวิตร ตำรวจชาวไทย (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478) 1 กุมภาพันธ์ - เสรี หวังในธรรม ศิลปินแห่งชาติ (เกิด 3 มกราคม พ.ศ. 2480) 7 กุมภาพันธ์ - ประมาณ ชันซื่อ ข้าราชการชาวไทย (เกิด 1 มิถุนายน พ.ศ. 2479) 8 กุมภาพันธ์ - แอนนา นิโคล สมิธ นางแบบ/นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน (เกิด 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510) 19 กุมภาพันธ์ - เหี่ยวฟ้า ศิลปินตลก 20 กุมภาพันธ์ - ศักดา โมกขมรรคกุล องคมนตรีและข้าราชการชาวไทย (เกิด 8 ธันวาคม พ.ศ. 2480) 12 มีนาคม - สุวิทย์ วัดหนู นักเคลื่อนไหวชาวไทย (เกิด 20 ธันวาคม พ.ศ. 2495) 19 มีนาคม - บุญชู โรจนเสถียร นักการธนาคารและนักการเมือง อดีตรองนายกรัฐมนตรี (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2465) 30 มีนาคม - ดีเด่น เก่งการุณ นักมวยชาวไทย (เกิด 25 เมษายน พ.ศ. 2521) 15 เมษายน - สุวัฒน์ วรดิลก (รพีพร) นักเขียน ศิลปินแห่งชาติ 18 เมษายน - กิตติ อัครเศรณี ผู้สร้างภาพยนตร์และละคร 23 เมษายน - บอริส เยลซิน ประธานาธิบดีคนแรกของรัสเซีย (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474) 12 พฤษภาคม - ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ภริยาปรีดี พนมยงค์ 13 พฤษภาคม - พระประมุขมาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 ประมุขแห่งรัฐซามัว 14 พฤษภาคม - เพ็ญศรี พุ่มชูศรี นักร้อง ศิลปินแห่งชาติ 21 พฤษภาคม - สาคร ยังเขียวสด ศิลปินแห่งชาติ 27 พฤษภาคม - อิซุมิ ซะกะอิ นักร้องหญิงชาวญี่ปุ่น (เกิด 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510) 30 พฤษภาคม - เกษม ศิริสัมพันธ์ นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรี 8 มิถุนายน - เสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ พิธีกร นักดนตรี 25 มิถุนายน - คริสโตเฟอร์ ไมเคิล เบนวา นักแสดงมวยปล้ำชาวแคนาดา (เกิด 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) 28 มิถุนายน - คิอิชิ มิยาซาวา นายกรัฐมนตรีคนที่ 78 ของญี่ปุ่น (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2462) 3 กรกฎาคม - ทองใบ เรืองนนท์ ศิลปินแห่งชาติ (เกิด พ.ศ. 2469) 13 กรกฎาคม - ท้วม ทรนง นักแสดงชาวไทย (เกิด พ.ศ. 2469) 6 กันยายน - ลูซิอาโน ปาวารอตติ นักร้องโอเปร่าชาวอิตาลี (เกิด 12 ตุลาคม พ.ศ. 2478) 28 กันยายน - กิตติคุณ เชียรสงค์ นักร้อง (เกิด 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2500) 10 ตุลาคม - หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ พระสงฆ์ชาวไทย 12 ตุลาคม - โซ วิน นายกรัฐมนตรีพม่า 26 ตุลาคม - ขุนส่า ขุนศึกชาวไทยใหญ่ 3 พฤศจิกายน - ศาสตราจารย์ พลเรือตรี สมภพ ภิรมย์ สถาปนิก ทหารเรือ ราชบัณฑิต และศิลปินแห่งชาติ (เกิด 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2459) 10 พฤศจิกายน - นอร์มัน เมลเลอร์ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ คอลัมนิสต์ และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 31 มกราคม พ.ศ. 2466) 23 พฤศจิกายน - ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา นักร้อง นักแต่งเพลง และนักแสดง (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) 24 พฤศจิกายน - ศุภพร มาพึ่งพงศ์ ผู้บรรยายกีฬา (เกิด 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2489) 24 พฤศจิกายน - อุเทน เตชะไพบูลย์ ผู้ก่อตั้งธนาคารศรีนคร และมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง (เกิด 3 มกราคม พ.ศ. 2456) 2 ธันวาคม - เปลื้อง ฉายรัศมี ศิลปินแห่งชาติ (เกิด 25 ตุลาคม พ.ศ. 2475) 9 ธันวาคม - ปาณรวัฐ กิตติกรเจริญ นักร้อง (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2525) 27 ธันวาคม - เบนาซี บุตโต อดีตนายกรัฐมนตรีปากีสถาน ร็อกแมน (เมกา แมน) - มีเนื้อเรื่องที่กล่าวว่า ดร.โธมัส ไลท์ ผู้สร้างร็อกแมน ได้รับรางวัลโนเบลสาขานักสร้างหุ่นยนต์ประจำปีนี้ ดุกนูกเค็ม 3ดี วางจำหน่าย พ.ศ. 2539 - มีเหตุการณ์ในเกมที่เกิดขึ้นในเดือนธันวาคมของปีนี้ เอาต์แคสต์ วางจำหน่าย พ.ศ. 2542 เมทัลเกียร์โซลิด 2: ซันส์ออฟลิเบอร์ตี วางจำหน่าย พ.ศ. 2544 ทอม แคลนซีย์ส เรนโบว์ซิกซ์ 3: ราเว็นชีลด์ วางจำหน่าย พ.ศ. 2546 ทอม แคลนซีย์ส โกสท์รีคอน 2 วางจำหน่าย พ.ศ. 2547 - มีการแต่งเนื้อเรื่องเกี่ยวกับสงครามเกาหลีครั้งที่ 2 ที่ได้เกิดขึ้นในปีนี้ ทอม แคลนซีย์ส สปรินเตอร์เซลล์: เคออสเธียวรี วางจำหน่าย พ.ศ. 2548 แอ็กต์ออฟวอร์: ไดเร็กต์แอ็กชัน วางจำหน่าย พ.ศ. 2548 ดับเบิลดรากอน เข้าฉาย พ.ศ. 2537 เพย์เช็ก (แกะรอยอดีต ล่าปมปริศนา) เข้าฉาย พ.ศ. 2546 เดอะแจ็คเก็ต (ขังสยอง ห้องหลอนดับจิต) เข้าฉาย พ.ศ. 2548 เดธออฟอะเพรสซิเดนต์ เข้าฉาย พ.ศ. 2549 - มีเนื้อเรื่องที่สมมุติให้ จอร์จ ดับเบิลยู บุช ประธานาธิบดีคนที่ 43 แห่งสหรัฐอเมริกาถูกลอบสังหารในวันที่ 19 ตุลาคมของปีนี้ เดอะพัพเพ็ตมาสเตอร์ส ตีพิมพ์ พ.ศ. 2494 - เหตุการณ์ทั้งหมดในเรื่องเกิดขึ้นในปีนี้ โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม เดอะฟอร์เอเวอร์วอร์ ตีพิมพ์ พ.ศ. 2518 - มีเหตุการณ์บางเหตุการณ์ในเรื่องที่เกิดขึ้นในปีนี้ สาขาเคมี – Gerhard Ertl สาขาวรรณกรรม – ดอริส เลสซิง สาขาสันติภาพ – คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, อัล กอร์ สาขาฟิสิกส์ – อัลเบิร์ต เฟิร์ต, ปีเตอร์ กรุนเบอร์ก สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – มาริโอ คาเปกกี, เซอร์ มาร์ติน อีวานส์, โอลิเวอร์ สมิธีส์ สาขาเศรษฐศาสตร์ – Leonid Hurwicz, Eric Maskin, Roger Myerson ศตวรรษ: 20 21 22 ปี: 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2007 ในปฏิทินอื่น ปฏิทินสุริยคติไทย 2550 ปฏิทินเกรกอเรียน 2007 MMVII Ab urbe condita 2760 ปฏิทินอาร์เมเนีย 1456 ԹՎ ՌՆԾԶ ปฏิทินอัสซีเรีย 6757 ปฏิทินบาไฮ 163–164 ปฏิทินเบงกาลี 1414 ปฏิทินเบอร์เบอร์ 2957 ปีในรัชกาลอังกฤษ 55 Eliz. 2 – 56 Eliz. 2 พุทธศักราช 2551 ปฏิทินพม่า 1369 ปฏิทินไบแซนไทน์ 7515–7516 ปฏิทินจีน 丙戌年 (จอธาตุไฟ) 4703 หรือ 4643     — ถึง — 丁亥年 (กุนธาตุไฟ) 4704 หรือ 4644 ปฏิทินคอปติก 1723–1724 ปฏิทินดิสคอร์เดีย 3173 ปฏิทินเอธิโอเปีย 1999–2000 ปฏิทินฮีบรู 5767–5768 ปฏิทินฮินดู  - วิกรมสมวัต 2063–2064  - ศกสมวัต 1929–1930  - กลียุค 5108–5109 ปฏิทินโฮโลซีน 12007 ปฏิทินอิกโบ 1007–1008 ปฏิทินอิหร่าน 1385–1386 ปฏิทินอิสลาม 1427–1428 ปฏิทินญี่ปุ่น ศักราชเฮเซ 19 (平成19年) ปฏิทินจูเช 96 ปฏิทินจูเลียน เกรกอเรียนลบ 13 วัน ปฏิทินเกาหลี 4340 ปฏิทินหมินกั๋ว ROC 96 民國96年 เวลายูนิกซ์ 1167609600–1199145599 จัดการ: ดู พูดคุย แก้ พูนศุข พนมยงค์ ศาสนามาณีกี =========== บทความนี้เกี่ยวกับลัทธิ สำหรับวรรณกรรม ดูที่ มังกรหยก ศาสนามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) เป็นศาสนาแบบไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่าชาวมานีหรือชาวมานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันคำว่ามานีเชียนได้ใช้หมายรวมถึงผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน บทความนี้เกี่ยวกับลัทธิ สำหรับวรรณกรรม ดูที่ มังกรหยก ศาสนามาณีกี หรือ ศาสนามานี หรือ มานีธรรม (मानी धर्म - Manichaeism) เป็นศาสนาแบบไญยนิยม (Gnosticism) ที่มีต้นกำเนิดในจักรวรรดิแซสซานิด มีพระมานีหัยยา (मानी हय्या) เป็นศาสดา แม้ว่างานเขียนของท่านจะหายสาบสูญไปทั้งหมดแล้ว แต่ยังคงมีฉบับแปลในภาษาต่าง ๆ ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ศาสนามานี หรือ หมอหนีเจี้ยว หรือ ม๊อนี้ก่า (摩尼教) สอนเชิงจักรวาลวิทยาว่าจักรวาลแบ่งออกเป็นของด้าน คือด้านความดีงาม จิตวิญญาณ และความสว่าง กับความชั่วร้าย วัตถุ และความมืด สันนิษฐานว่าศาสนามานีได้รับแนวคิดนี้มาจากแนวคิดของพวกไญยนิยมในเมโสโปเตเมีย ศาสนามานีกีแพร่หลายมากในภูมิภาคที่ใช้ภาษาแอราเมอิกและภาษาซีรีแอก ราวคริสต์ศตวรรษที่ 3 - 7 จนกลายเป็นศาสนาที่แพร่หลายมากที่สุดในโลกศาสนาหนึ่งในยุคนั้น ศาสนจักรมานีแพร่ไปทางตะวันออกไกลถึงประเทศจีน และทางตะวันตกไกลถึงจักรวรรดิโรมัน โดยมีศาสนิกชนส่วนมากเป็นทหาร จนได้ชื่อว่าเป็นศาสนาของกองทัพ และกลายเป็นคู่แข่งของศาสนาคริสต์ แทนลัทธิเพกันที่เสื่อมไปก่อนหน้านั้นแล้ว ศาสนามานีในภูมิภาคตะวันออกดำรงอยู่นานกว่าทางตะวันตก โดยเสื่อมสลายไปราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 ทางใต้ของจีน ศาสนิกชนของศาสนานี้เรียกว่าชาวมานีหรือชาวมานีเชียน ซึ่งในปัจจุบันคำว่ามานีเชียนได้ใช้หมายรวมถึงผู้มีแนวคิดทางจริยศาสตร์รูปแบบหนึ่งที่มองศีลธรรมแบบทวินิยม คือมีความดีความชั่วอยู่จริง และอยู่แยกกันต่างหากอย่างชัดเจน ถูกกล่าวถึงในนิยายของกิมย้ง ในเรื่องชุดมังกรหยก ในชื่อนิกายเม้งก่า มีท่านปรมาจารย์ปู่เต็งเอี๊ยงเป็นเจ้าสำนัก ท่านกลับไม่คิดอยากได้ คัมภีร์เก้าอิม ที่ใครต่อใครล้วนปรารถนา ดังนั้นจึงคิดทำลายทิ้ง ป้องกันมิให้ยุทธภพเกิดความปั่นป่วนอีกครั้ง สะท้อนให้เห็นถึงระดับการพำเพ็ญพรตขั้นสูงของนักพรตในนิกายนี้ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 186 Widengren, Geo Mesopotamian elements in Manichaeism (King and Saviour II): Studies in Manichaean, Mandaean, and Syrian-gnostic religion, Lundequistska bokhandeln, 1946. Jason BeDuhn; Paul Allan Mirecki (2007). Frontiers of Faith: The Christian Encounter With Manichaeism in the Acts of Archelaus. BRILL. pp. 6–. ISBN 978-90-04-16180-1. สืบค้นเมื่อ 27 August 2012.  Andrew Welburn, Mani, the Angel and the Column of Glory: An Anthology of Manichaean Texts (Edinburgh: Floris Books, 1998), p. 68 Jason David BeDuhn The Manichaean Body: In Discipline and Ritual Baltimore: Johns Hopkins University Press. 2000 republished 2002 p.IX บทความเกี่ยวกับศาสนานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ศาสนา บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของ ลัทธินอสติก ไญยนิยม ประวัติ ยุคโบราณ • สมัยซีเรีย-อียิปต์ ยุคกลาง • สมัยใหม่ • ศาสนามานเด ศาสนามาสดา • ศาสนามาณีกี นักไญยนิยมยุคแรก ไฟโล • ไซมอน มารกัส ซีรินธัส • วาเลนตินุส บาสิลิเดส คัมภีร์ไญยนิยม พระวรสารไญยนิยม หอสมุดนักฮัมมาดี • รหัส ธชาคอส • รหัส แอสคิว บทคัดลอก แอปไดแอส • รหัส บรูซ • รหัส เบอร์ลิน ไญยนิยมกับพันธสัญญาใหม่ • วรรณกรรมเคลเมนไทน์ • เรื่องที่เกี่ยวข้อง นอสซีส • ฌาน • วีแกน เทวปรัชญาศาสนาคริสต์ • เทวปรัชญา ลัทธิเพลโตกับไญยนิยม • หมวดหมู่นอสติก  ด • พ • ก  อัลเบรชท์ ดือเรอร์ ================== อัลเบรชท์ ดือเรอร์ (เยอรมัน: Albrecht Dürer ; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2014 - 6 เมษายน พ.ศ. 2071) เป็นจิตรกรและนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เขาเป็นลูกศิษย์ของมิชาเอล โวลจ์มัท (Michael Wolgemut) มีผลงานทางศิลปะที่สำคัญ เช่น Knight, Death, and the Devil, Saint Jerome in his Study และ Melencolia I อัลเบรชท์ ดือเรอร์ (เยอรมัน: Albrecht Dürer ; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2014 - 6 เมษายน พ.ศ. 2071) เป็นจิตรกรและนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เขาเป็นลูกศิษย์ของมิชาเอล โวลจ์มัท (Michael Wolgemut) มีผลงานทางศิลปะที่สำคัญ เช่น Knight, Death, and the Devil, Saint Jerome in his Study และ Melencolia I Mueller, Peter O. (1993) Substantiv-Derivation in Den Schriften Albrecht Durers, Walter de Gruyter. ISBN 3-11-012815-2. Links to online museum images of all of Dürer's prints — see section B (nb: Not all Public Domain) Albrecht Durer in the "History of Art" http://www.ibiblio.org/wm/paint/auth/durer/ Alternative Albrecht Durer Works by Albrecht Dürer at Museumsportal Schleswig-Holstein Albrecht Dürer: Vier Bücher von menschlicher Proportion (Nuremberg, 1528). Selected pages scanned from the original work. Historical Anatomies on the Web. US National Library of Medicine. De Symmetria... and Underweysung der Messung 1538, from Rare Book Room งานศิลปะ โดย อัลเบรชท์ ดือเรอร์ บทความเกี่ยวกับชีวประวัตินี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: อัลเบรชท์ ดือเรอร์ “ภาพเหมือนตนเอง” ค.ศ. 1500 เมื่ออายุยี่สิบแปดปี แนชวิลล์ ======== แนชวิลล์ (อังกฤษ: Nashville) เป็นเมืองหลวงของรัฐเทนเนสซี และเป็นเคาน์ตีซีต (เมืองหลวงมณฑล) ของเดวิดสันเคาน์ตี ถือเป็นเมืองที่มีพลเมืองหนาแน่นมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในรัฐถัดจากเมืองเมมฟิส เมืองตั้งแถบริมแม่น้ำคัมเบอร์แลนด์ ในเดวิดสันเคาน์ตี ทางส่วนกลางเหนือของรัฐ แนชวิลล์เป็นเมืองที่เป็นศูนย์รวมด้านการเอาใจใส่ด้านสุขภาพ ดนตรี สิ่งตีพิมพ์ การธนาคาร และธุรกิจการขนส่ง แนชวิลล์ (อังกฤษ: Nashville) เป็นเมืองหลวงของรัฐเทนเนสซี และเป็นเคาน์ตีซีต (เมืองหลวงมณฑล) ของเดวิดสันเคาน์ตี ถือเป็นเมืองที่มีพลเมืองหนาแน่นมากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในรัฐถัดจากเมืองเมมฟิส เมืองตั้งแถบริมแม่น้ำคัมเบอร์แลนด์ ในเดวิดสันเคาน์ตี ทางส่วนกลางเหนือของรัฐ แนชวิลล์เป็นเมืองที่เป็นศูนย์รวมด้านการเอาใจใส่ด้านสุขภาพ ดนตรี สิ่งตีพิมพ์ การธนาคาร และธุรกิจการขนส่ง "Geographic Identifiers: Davidson County, Tennessee". Census.gov. 2010. สืบค้นเมื่อ August 3, 2011.  "State & County QuickFacts - Davidson County, Tennessee". Census.gov. January 2012. สืบค้นเมื่อ 17 February 2012.  "Annual Estimates of the Population of Metropolitan and Micropolitan Statistical Areas: April 1, 2000 to July 1, 2009" (XLS). Census.gov. March 2010. Archived from the original on January 2, 2011.  "State & County QuickFacts - Nashville-Davidson (balance)". Census.gov. January 2012. สืบค้นเมื่อ 17 February 2012.  Consolidated refers to the population of Davidson County; Balance refers to the population of Nashville excluding other incorporated cities within the Nashville-Davidson boundary. บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล แนชวิลล์ Consolidated city–county From top left: 2nd Avenue, Kirkland Hall at Vanderbilt University, the Parthenon, the Nashville skyline, LP Field, Dolly Parton performing at the Grand Ole Opry, and Ryman Auditorium สมญา: Music City, Athens of the South แนชวิลล์ Location in Davidson County and the state of Tennessee. พิกัดภูมิศาสตร์: 36°10′00″N 86°47′00″W / 36.16667°N 86.78333°W / 36.16667; -86.78333พิกัดภูมิศาสตร์: 36°10′00″N 86°47′00″W / 36.16667°N 86.78333°W / 36.16667; -86.78333 Country United States State Tennessee County Davidson Founded 1779 Incorporated 1806 ชื่อ Francis Nash การปกครอง  • Mayor Karl Dean (D) พื้นที่  • Consolidated 527.9 ตร.ไมล์ (1,367 ตร.กม.)  • พื้นดิน 504.0 ตร.ไมล์ (1,305 ตร.กม.)  • พื้นน้ำ 23.9 ตร.ไมล์ (62 ตร.กม.) ความสูง 597 ฟุต (182 เมตร) ประชากร (2010)  • Consolidated 662,681  • ความหนาแน่น 1,300 คน/ตร.ไมล์ (480 คน/ตร.กม.)  • เขตมหานคร 1,589,934  • Balance 601,222 คำเรียกพลเมือง Nashvillians เขตเวลา CST (UTC-6)  • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) CDT (UTC-5) ZIP codes 37201-37250 รหัสพื้นที่ 615 Interstates I-40, I-24, I-65, and I-440 Waterways Cumberland River Airports Nashville International Airport Public transit Nashville MTA Regional rail Music City Star เว็บไซต์ nashville.gov/ ธงของแนชวิลล์ ธง ตราอย่างเป็นทางการของแนชวิลล์ ตรา วิลเฮล์ม ไคเทิล =============== วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (เยอรมัน: Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel 22 กันยายน 1882 – 16 ตุลาคม 1946) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้นำกองบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคท์ (Oberkommando der Wehrmacht or OKW) สำหรับส่วนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่สอง, เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้นำของกระทรวงกลาโหมแห่งเยอรมัน. ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ. เขาได้เป็นหนึ่งในสามอันดับสูงสุดของนายทหารเยอรมันที่พยายามต่อสู้คดีที่เนือร์นแบร์ก วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (เยอรมัน: Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel 22 กันยายน 1882 – 16 ตุลาคม 1946) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้นำกองบัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคท์ (Oberkommando der Wehrmacht or OKW) สำหรับส่วนใหญ่ในสงครามโลกครั้งที่สอง, เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้นำของกระทรวงกลาโหมแห่งเยอรมัน. ที่การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ. เขาได้เป็นหนึ่งในสามอันดับสูงสุดของนายทหารเยอรมันที่พยายามต่อสู้คดีที่เนือร์นแบร์ก Barnett, Correlli, ed. (2003) [1989]. Hitler’s Generals. New York: Grove Press. ISBN 978-0-80213-994-8 Brinkley, Douglas, and Michael E. Haskew, eds. (2004). The World War II Desk Reference. New York: Grand Central Press. ISBN 978-0-06052-651-1 Burleigh, Michael (2010). Moral Combat: Good and Evil in World War II. New York and London: Harper Collins. ISBN 978-0-00-719576-3 Carell, Paul (1994). Scorched Earth. Atglen, PA: Schiffer Military History. ISBN 0-88740-598-3 Clark, Alan (2002) [1965] Barbarossa: The Russian-German Conflict, 1941–45. New York: Harper Perennial. ISBN 0-688-04268-6 Conot, Robert E. (2000) [1947]. Justice at Nuremberg. New York: Carroll & Graf Publishers. ISBN 978-0-88184-032-2 Higgins, Trumbull (1966) Hitler and Russia: The Third Reich in a Two-front War, 1937–1943. New York: The Macmillan Company. ASIN: B007T4QZQS Hildebrand, Klaus (1986). The Third Reich. London & New York: Routledge. ISBN 0-04-9430327 Knopp, Guido (2000). Hitlers Krieger. Leipzig: Goldmann Verlag. ISBN 3-442-15045-0 Miller, Donald L. (2006). The Story of World War II. New York: Simon & Schuster. ISBN 0-7432-2718-2. Mitcham, Samuel and Gene Mueller (2012). Hitler’s Commanders: Officers of the Wehrmacht, the Luftwaffe, the Kriegsmarine, and the Waffen-SS. Lanham, MD: Rowman & Littlefield. ISBN 978-1-44221-153-7 Mueller, Gene (1979). The Forgotten Field Marshal: Wilhelm Keitel. Durham, NC: Moore Publishing. ISBN 978-0-87716-105-9 Roberts, Andrew (2011). The Storm of War: A New History of the Second World War. New York: Harper Perennial. ISBN 978-0-06122-860-5 Taylor, Telford (1995) [1952]. Sword and Swastika: Generals and Nazis in the Third Reich. New York: Barnes & Noble. ISBN 978-1-56619-746-5 Wheeler-Bennett, John W. (1980) [1953]. Nemesis of Power: The German Army in Politics 1918–1945. Basingstoke: Palgrave Macmillan. ISBN 0-333-06864-5 วิลเฮล์ม ไคเทิล 22 กันยายน ค.ศ. 1882(1882-09-22) – 16 ตุลาคม ค.ศ. 1946 (64 ปี) วิลเฮล์ม ไคเทิล ชื่อเล่น "Lakeitel" ที่เกิด Helmscherode, German Empire ที่เสียชีวิต เนือร์นแบร์ก, เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร สังกัด  จักรวรรดิเยอรมัน  สาธารณรัฐไวมาร์  เยอรมนี ปฏิบัติหน้าที่ใน เวร์มัคท์ ปีที่ปฏิบัติหน้าที่ 1901–1945 ชั้นยศ Generalfeldmarschall บังคับบัญชา OKW การยุทธ์ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามโลกครั้งที่สอง บำเหน็จ กางเขนเหล็กกางเขนอัศวิน ความสัมพันธ์ Bodewin Keitel (brother) Karl-Heinz Keitel (eldest son) ชนชั้นขุนนาง ============ ชนชั้นขุนนาง (อังกฤษ: nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่าง ๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นราชวงศ์หรือรัฐบาล แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศักดิ์ ชนชั้นขุนนาง (อังกฤษ: nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่าง ๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นราชวงศ์หรือรัฐบาล แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศักดิ์ ขุนนางกรุงศรีอยุธยา ขุนนางไทย ขุนนางอังกฤษ ฐานันดรศักดิ์ยุโรป ขุนนางจักรวรรดิญี่ปุ่น การสอบขุนนาง วิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ nobility วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชนชั้นขุนนาง Genealogy of Georgian Nobility WW-Person, an on-line database of European noble genealogy Genealogics, an extensive database of European nobles Worldroots, a selection of art and genealogy of European nobility ชนชั้นขุนนางในโปแลนด์ ช่วงค.ศ. 1697-1795 งานเลี้ยงของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในออสเตรีย ค.ศ. 1904 ขุนนางจีนสมัยราชวงศ์หมิง สันต์ ศรุตานนท์ =============== พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ พลตำรวจเอก สันต์ ศรุตานนท์ นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย และอดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ สันต์ ศรุตานนท์ เกิดวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายกระสันต์ กับนางประยงค์ ศรุตานนท์ สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยในปี 2505 และโรงเรียนนายร้อยตำรวจในปี 2510 เขาเคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 - 30 กันยายน พ.ศ. 2547 สันต์สมรสกับคุณหญิงเกิดศิริ ศรุตานนท์ (สกุลเดิม เศรษฐบุตร) ธิดาของสำเนา และอารินทร์ เศรษฐบุตร แต่ไม่มีบุตร-ธิดาด้วยกัน นอกจากนี้สันต์ยังมีความสัมพันธ์กับยุวเรต กังสถาน ที่ต่อมาได้ใช้นามสกุลศรุตานนท์ด้วย เธออ้างว่าได้รับอนุญาตจากสันต์ เพื่อตอบแทนการที่เธอปรนนิบัติพัดวีเขา และมักปรากฏตัวออกงานร่วมกันบ่อยครั้งจนมีเสียงเล่าลือกันว่าสันต์หย่าจากภริยาเดิม ซึ่งในเวลาต่อมาเกิดศิริ ภริยาในสมรสจึงส่งจดหมายชี้แจงสื่อมวลชนว่าตนยังคงสภาพสมรสกับสันต์อยู่ อันส่งผลให้มีผู้ใช้อินสตาแกรมบางส่วนไม่พอใจพฤติกรรมดังกล่าวของยุวเรตได้โจมตีด้วยการแสดงความเห็นต่าง ๆ ในอินสตาแกรมส่วนตัวของยุวเรต จนเธอออกมาโต้ตอบว่า "ค่ะ ไปดราม่าที่อื่นนะคะ" ที่เวลาต่อมายุวเรตลบภาพที่มีปัญหานั้นออก พ.ศ. 2528 คณะอนุกรรมการของคณะกรรมการ ป.ป.ป. พ.ศ. 2539 กรรมการอำนวยการปรับปรุงการบริหารพัสดุ สำนักงบประมาณ พ.ศ. 2541 กรรมการว่าด้วยพัสดุ พ.ศ. 2541 กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2544 กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 กรรมการ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 กรรมการ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ เป็นกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย วาระปี พ.ศ. 2552-2556 นายกสมาคมกรีฑาแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมขี่ม้าโปโลแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2540 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาประมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. 2537 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) พ.ศ. 2546 - เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นปฐมดิเรกคุณาภรณ์ (ป.ภ.) เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.) "ยังไม่หย่า! “คุณหญิงเกิดศิริ ” ร่อนจดหมายถึงสื่อ ระบุยังมีสถานะเป็นภรรยาตาม กม.“พล.ต.อ.สันต์”". MGR Online. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "ฮือฮาแวดวงไฮโซ! เปิดตัว”ยุวเรต ศรุตานนท์”สาวสวยข้างกาย”พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์”". ข่าวสดออนไลน์. 8 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "ยุวเรต ศรุตานนท์ นามสกุลนี้ถูกต้องแล้ว !". เฮลโลไทยแลนด์. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "#ชีวิตดี๊ดี!!! ยุวเรต ศรุตานนท์ ดาหลิงตัวติดกันของสันต์ ศรุตานนท์ สวยระดับนางเอกเลยนะเนี่ย". แพรว. 11 ตุลาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  ""คุณหญิงเกิดศิริ"โต้หย่า"พล.ต.อ.สันต์" ยันสถานภาพสมรส". โพสต์ทูเดย์. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "เปิดภาพล่าสุดของ ”ยุวเรต-สันต์”!! หลัง ”คุณหญิงเกิดศิริ” เขียนจดหมายยืนยันยังไม่ได้หย่า". ข่าวสด. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "'คุณหญิงเกิดศิริ ศรุตานนท์' แจงยังไม่ได้หย่า 'สันต์'". กรุงเทพธุรกิจ. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  "สตรอง! ‘ยุวเรต’ ไล่ไปดราม่าที่อื่น หลังถูกถล่มไอจี เหตุจากจม.’คุณหญิงเกิดศิริ’". มติชน. 20 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2559.  คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย [1] บทความนี้ถูกกึ่งล็อกมิให้แก้ไข เนื่องจากถูกก่อกวนหลายครั้งติดต่อกัน (ดูปูม) ผู้ไม่ลงทะเบียนหรือผู้ใช้ใหม่ไม่สามารถแก้ไขบทความนี้ได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปยังแก้ไขได้ตามปกติ (ล็อกอินที่นี่) ทุกคนสามารถเสนอความคิดเห็นและข้อควรปรับปรุงได้ในหน้าอภิปราย หรือแจ้งผู้ดูแลระบบเพื่อขอยกเลิกการป้องกันหรือเพิ่มการป้องกันเป็นการล็อกสมบูรณ์ สันต์ ศรุตานนท์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547 ก่อนหน้า พลตำรวจเอก พรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ ถัดไป พลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ ข้อมูลส่วนบุคคล เกิด 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2487 (73 ปี) กรุงเทพมหานคร คู่สมรส พรรณี กนกโชติ (2518–2520)[ต้องการอ้างอิง] คุณหญิงเกิดศิริ ศรุตานนท์ (2520–ปัจจุบัน) ศาสนา พุทธ การเข้าเป็นทหาร สวามิภักดิ์ ไทย สังกัด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ยศ พลตำรวจเอก ก่อนหน้า สันต์ ศรุตานนท์ ถัดไป พลตำรวจเอกพรศักดิ์ ดุรงควิบูลย์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2544 – 30 กันยายน พ.ศ. 2547) พลตำรวจเอกโกวิท วัฒนะ อาบรักกระบี่คม ============== อาบรักกระบี่คม (Sex and Zen) เป็นภาพยนตร์จีน แนวอีโรติก โดยในฮ่องกงจัดอยู่ประเภทที่สาม หรือที่เรียกว่าหนังเกรดสาม (Catagory III) เนื้อเรื่องดัดแปลงมาจากนิยายสมัยราชวงศ์หมิง เรื่อง บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน ซึ่งเรื่องแรก ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2534 ก่อนออกภาคต่อไปโดยมีทั้งหมด 3 ภาค อาบรักกระบี่คม (Sex and Zen) เป็นภาพยนตร์จีน แนวอีโรติก โดยในฮ่องกงจัดอยู่ประเภทที่สาม หรือที่เรียกว่าหนังเกรดสาม (Catagory III) เนื้อเรื่องดัดแปลงมาจากนิยายสมัยราชวงศ์หมิง เรื่อง บัณฑิตก่อนเที่ยงคืน ซึ่งเรื่องแรก ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2534 ก่อนออกภาคต่อไปโดยมีทั้งหมด 3 ภาค Yu pu tuan zhi: Tou qing bao jian ที่อินเทอร์เน็ตมูวีเดตาเบส บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก Sex and Zen 玉蒲團之偷情寶鑑 อาบรักกระบี่คม กำกับ Michael Mak นำแสดง เอมี ยิป (เยี่ย จื่อเหม่ย) อู๋ เจียลี่ อู๋ ฉี่หัว จำหน่าย/เผยแพร่ โกลเดนฮาร์เวสต์ ฉาย 1991 ความยาว 99 นาที ประเทศ ฮ่องกง ภาษา ภาษากวางตุ้ง ต่อจากนี้ Sex and Zen II พ.ศ. 2440 ========= พุทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน (ตามการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2440 เริ่มต้นในวันที่ 1 เมษายน) พุทธศักราช 2440 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1897 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน (ตามการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2440 เริ่มต้นในวันที่ 1 เมษายน) พระมหากษัตริย์ – พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2410–23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) 26 มกราคม - จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายแห่งแรกของไทยโดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ 7 เมษายน - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 และเสด็จนิวัติพระนคร 16 ธันวาคม พ.ศ. 2440 รวมระยะเวลาที่เสด็จประพาสยุโรป 253 วัน ซึ่งในครั้งนั้นได้มีช่างภาพของบริษัทลูมิแอร์ ประเทศฝรั่งเศส บันทึกภาพยนตร์การเสด็จถึงกรุงเบอร์นของพระเจ้ากรุงสยามไว้ 1 ม้วน ใช้เวลาประมาณ 1 นาที นับว่าเป็นการถ่ายภาพยนตร์ม้วนแรกของโลกที่บันทึกเกี่ยวกับชนชาติไทย 15 กุมภาพันธ์ – สงครามสเปน-อเมริกา: เรือรบยูเอสเอสเมนระเบิดและล่มในอ่าวฮาวานาของคิวบา ซึ่งสหรัฐฯ เชื่อว่าถูกก่อวินาศกรรม นำไปสู่การประกาศสงครามต่อสเปน 23 พฤศจิกายน - พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 ถึงแก่พิราลัยด้วยโรคชรา 4 มกราคม - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ พระบิดาใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์รัชกาลที่9 24 กุมภาพันธ์ - พระครูสุดานุโยค (สุข สุจิตโต) 25 เมษายน - เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด (สิ้นพระชนม์ 28 มีนาคม พ.ศ. 2508) 16 มิถุนายน - เกออร์ก วิททิก นักเคมีชาวเยอรมัน (ถึงแก่กรรม 26 สิงหาคม พ.ศ. 2530) 14 กรกฎาคม - จอมพลแปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี (ถึงแก่อนิจกรรม 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) 20 ตุลาคม - พระมงคลศีลาจารย์ (คร่ำ ยโสธโร) (มรณภาพ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2540) 23 พฤศจิกายน - พระเจ้าอินทรวิชยานนท์ เจ้าครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 บทความเกี่ยวกับปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เวลา ศตวรรษ: 18 19 20 ปี: 2437 2438 2439 2440 2441 2442 2443 1897 ในปฏิทินอื่น ปฏิทินสุริยคติไทย 2440 ปฏิทินเกรกอเรียน 1897 MDCCCXCVII Ab urbe condita 2650 ปฏิทินอาร์เมเนีย 1346 ԹՎ ՌՅԽԶ ปฏิทินอัสซีเรีย 6647 ปฏิทินบาไฮ 53–54 ปฏิทินเบงกาลี 1304 ปฏิทินเบอร์เบอร์ 2847 ปีในรัชกาลอังกฤษ 60 Vict. 1 – 61 Vict. 1 พุทธศักราช 2441 ปฏิทินพม่า 1259 ปฏิทินไบแซนไทน์ 7405–7406 ปฏิทินจีน 丙申年 (วอกธาตุไฟ) 4593 หรือ 4533     — ถึง — 丁酉年 (ระกาธาตุไฟ) 4594 หรือ 4534 ปฏิทินคอปติก 1613–1614 ปฏิทินดิสคอร์เดีย 3063 ปฏิทินเอธิโอเปีย 1889–1890 ปฏิทินฮีบรู 5657–5658 ปฏิทินฮินดู  - วิกรมสมวัต 1953–1954  - ศกสมวัต 1819–1820  - กลียุค 4998–4999 ปฏิทินโฮโลซีน 11897 ปฏิทินอิกโบ 897–898 ปฏิทินอิหร่าน 1275–1276 ปฏิทินอิสลาม 1314–1315 ปฏิทินญี่ปุ่น ศักราชเมจิ 30 (明治30年) ปฏิทินจูเช N/A ปฏิทินจูเลียน เกรกอเรียนลบ 12 วัน ปฏิทินเกาหลี 4230 ปฏิทินหมินกั๋ว 15 ก่อน ROC 民前15年 จัดการ: ดู พูดคุย แก้ พระผง ๙ สมเด็จ ============== พระผง ๙ สมเด็จ เป็นพระเครื่องเนื้อผง ที่จัดสร้างตามแบบพระผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยกรมทรัพยากรน้ำซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพยากรน้ำของประเทศ มีโครงการจัดงาน "รวมใจภักดิ์ อนุรักษ์ และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง" เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสดังกล่าว โดยรายได้ส่วนหนึ่งจากการบริจาคกรมทรัพยากรน้ำจะมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาและเป็นสวัสดิการกรมทรัพยากรน้ำในการดูแลรักษาแหล่งน้ำของประเทศ จึงดำเนินการจัดสร้าง พระผง ๙ สมเด็จ ขึ้น พระผง ๙ สมเด็จ เป็นพระเครื่องเนื้อผง ที่จัดสร้างตามแบบพระผงสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองปีมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยกรมทรัพยากรน้ำซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพยากรน้ำของประเทศ มีโครงการจัดงาน "รวมใจภักดิ์ อนุรักษ์ และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง" เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติในโอกาสดังกล่าว โดยรายได้ส่วนหนึ่งจากการบริจาคกรมทรัพยากรน้ำจะมอบให้มูลนิธิชัยพัฒนาและเป็นสวัสดิการกรมทรัพยากรน้ำในการดูแลรักษาแหล่งน้ำของประเทศ จึงดำเนินการจัดสร้าง พระผง ๙ สมเด็จ ขึ้น พระผง ๙ สมเด็จ ได้รับเมตตานุเคราะห์จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ประทานมวลสารในการจัดสร้าง มวลสารหลักสำคัญ คือ เส้นพระเกศาประทานจากสมเด็จพระราชาคณะทุกรูปในขณะนั้นได้แก่ สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร) จากวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) จากวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) จากวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) จากวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (พุฒ สุวฑฺฒโน) จากวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) จากวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร) จากวัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) จากวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร นอกจากนี้ ยังมีมวลสารมงคลอื่น ๆ ทั่วประเทศไทย และมวลสารที่เป็นมวลสารหลักในการจัดสร้างพระผงสมเด็จตามแบบสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) อาทิ ผงปถมัง ผงมหาราช ผงอิทธิเจ ผงนิทสิงเห ผงพุทธคุณ ดินทุ่งเศรษฐี จังหวัดกำแพงเพชร รวมกับการบดพระผงสมเด็จเก่าและมวลสารจากวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร วัดอินทรวิหาร วัดเกศไชโย มารวมเป็นมวลสารในการจัดสร้างพระผง ๙ สมเด็จด้วย พระผง ๙ สมเด็จ ได้จัดพิธีบวงสรวงขอจัดสร้าง ณ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร เมื่อวันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2550 และมีพิธีอธิษฐานจิตกดพิมพ์ปฐมฤกษ์ ณ ตำหนักสมเด็จ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เป็นผู้อธิษฐานจิตและกดพิมพ์ปฐมฤกษ์ ร่วมกับประธานฝ่ายฆราวาส มีพระปฐมฤกษ์ในการกดพิมพ์ครั้งนั้น จำนวน 15 องค์ พิธีมหาพุทธาภิเษก พระผง ๙ สมเด็จ จัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2550 ณ พระวิหาร พุทธมณฑล อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นวันเดียวกับวันจัดงานรวมใจภักดิ์ อนุรักษ์และพัฒนาแม่น้ำ คู คลอง โดยพิธีมหาพุทธาภิเษกได้รับเมตตานุเคราะห์จากสมเด็จพระราชาคณะร่วมพิธี ได้แก่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นประธานจุดเทียนชัย สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เป็นประธานดับเทียนชัย มีพระภิกษุสมณศักดิ์ร่วมสวดเจริญพระพุทธมนต์ 10 รูป ได้แก่ พระพรหมเวที วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร, พระพรหมสุธี วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร, พระธรรมกิตติเมธี วัดสัมพันธวงศารามวรวิหาร, พระธรรมวรเมธี วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร, พระธรรมปริยัติเวที วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร, พระธรรมสิทธินายก วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร, พระเทพรัตนสุธี วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร, พระเทพมุนี วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร, พระราชรัตนมุนี วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร และพระราชปัญญาโสภณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร พระสมณศักดิ์นั่งปรกอธิษฐานจิต จำนวน 9 รูป ได้แก่ พระเทพวิสุทธิเมธี (เจ้าคุณเที่ยง) วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร, พระเทพโกศล วัดปากน้ำ, พระเทพคุณาภรณ์ วัดสังเวชวิศยาราม, พระราชญาณวิสิฐ วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม, พระราชรัตนวราภรณ์ วัดพนัญเชิงวรวิหาร, พระนิกรมมุนี วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร, พระพิพัฒน์วิริยาภรณ์ วัดไร่ขิง, พระพิพิธพัฒนาทร วัดปริวาส และพระครูวินัยธร องอาจ อาภกโร โดยมีพระสงฆ์สายสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) นั่งสวดภาณวาร พระผง ๙ สมเด็จ จัดสร้าง 5 แบบพิมพ์ 2 ขนาด และ 4 เนื้อ ดังนี้ 5 แบบพิมพ์ ได้แก่ พิมพ์ใหญ่ พิมพ์เกศบัวตูม พิมพ์ฐานแฐม พิมพ์เจดีย์ และพิมพ์ปรกโพธิ์ 2 ขนาด ได้แก่ พระขนาดมาตรฐาน และพระคะแนน 4 เนื้อ ได้แก่ เนื้อธรรมดา (สีขาวธรรมชาติ), เนื้อสีนิล (สีดำ), เนื้อสีเงิน (สีเทา) และเนื้อสีทอง (สีเหลืองทอง) ตราสัญลักษณ์จำลองมาจากพัดยศสมณศักดิ์ชั้นสมเด็จพระราชาคณะหรือชั้นสุพรรณบัฏ รูปพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ เส้นรอบด้านในมาจากช่อใบเทศ มีเลข ๙ ตรงกลาง แสดงถึง จำนวนรวมของสมเด็จพระสังฆราชและสมเด็จพระราชาคณะทั้งหมด มีเครื่องหมายอุณาโลม หมายถึง ความอุดมมงคลสูงสุดเสมือนแทนสมเด็จพระพุทธเจ้า มวลสารสำหรับจัดสร้างพระผง ๙ สมเด็จ สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ================= บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน สมาคมฟุตบอล (The Football Association) หรือ เอฟเอ เป็นสมาคมฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในโลกโดยก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1863 ในปัจจุบันมีเจ้าชายวิลเลียมทรงเป็นประธาน และอยู่ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 มีทีมชาติอังกฤษ อยู่ในสังกัด และมีรายการฟุตบอลสำคัญ เช่น พรีเมียร์ลีก ฟุตบอลลีก เอฟเอคัพ โดยผู้ร่วมก่อตั้งบางส่วน ซึ่งสนับสนุนให้ใช้มือเล่น ได้แยกออกไปตั้งสมาคมรักบี้อังกฤษ ในเวลาต่อมา เนื่องจากขัดแย้งกับผู้ร่วมก่อตั้งที่ให้ใช้เท้าเล่น บทความเกี่ยวกับกีฬา นักกีฬา หรือทีมกีฬานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่โครงการวิกิกีฬา สมาคมฟุตบอลอังกฤษ ยูฟ่า ก่อตั้ง พ.ศ. 2406 เป็นสมาชิกฟีฟ่า พ.ศ. 2448 เป็นสมาชิกยูฟ่า พ.ศ. 2497 ผู้อุปถัมภ์ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ประธาน เจ้าชายวิลเลียมแห่งเวลส์ เว็บไซต์ www.thefa.com เณรหน้าไฟ ========= การบวชสามเณรหน้าไฟ คือการบรรพชาสามเณรที่นิยมบวชเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย โดยปรกติการบวชหน้าไฟมักจะบวชกันในวันเผาศพ โดยเมื่อทำพิธีฌาปนกิจเสร็จก็มักจะสึก เรียกตามภาษาชาวบ้านคือ "บวชเช้าสึกเย็น" ที่เรียกว่าหน้าไฟจึงน่าจะมีสาเหตุมาจากบวชเพียงเพื่อเป็นเณรอยู่หน้าไฟเท่านั้น บางท่านว่าเป็นการ บวชหลอกคนตาย คือพอประกอบพิธีฌาปนกิจเสร็จก็สึก การบวชสามเณรหน้าไฟเป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาเป็นประเพณีนิยม โดยผู้บวชและญาติพี่น้องเชื่อว่าการบวชเณรหน้าไฟ จะทำให้ผู้วายชมน์ได้บุญมาก ดังนั้นเราจึงมักเห็นการบวชลักษณะนี้ได้ทั่วไปในงานพิธีศพ อีกประการหนึ่งการบวชเณรกระทำง่าย เพียงแค่โกนศีรษะและเตรียมจีวรเข้าไปหาอุปัชฌาย์ก็สามารถทำการบวชได้แล้ว ดังนั้นการบวชเณรจึงไม่ยุ่งยากเหมือนการบวชพระภิกษุซึ่งมีขั้นตอนในการรับรอง ในทางพระวินัยมากมาย คนทั่วไปจึงนิยมบวชเณรหน้าไฟมากกว่าบวชพระหน้าไฟ การบวชสามเณรหน้าไฟ คือการบรรพชาสามเณรที่นิยมบวชเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ตาย โดยปรกติการบวชหน้าไฟมักจะบวชกันในวันเผาศพ โดยเมื่อทำพิธีฌาปนกิจเสร็จก็มักจะสึก เรียกตามภาษาชาวบ้านคือ "บวชเช้าสึกเย็น" ที่เรียกว่าหน้าไฟจึงน่าจะมีสาเหตุมาจากบวชเพียงเพื่อเป็นเณรอยู่หน้าไฟเท่านั้น บางท่านว่าเป็นการ บวชหลอกคนตาย คือพอประกอบพิธีฌาปนกิจเสร็จก็สึก การบวชสามเณรหน้าไฟเป็นความเชื่อที่สืบทอดกันมาเป็นประเพณีนิยม โดยผู้บวชและญาติพี่น้องเชื่อว่าการบวชเณรหน้าไฟ จะทำให้ผู้วายชมน์ได้บุญมาก ดังนั้นเราจึงมักเห็นการบวชลักษณะนี้ได้ทั่วไปในงานพิธีศพ อีกประการหนึ่งการบวชเณรกระทำง่าย เพียงแค่โกนศีรษะและเตรียมจีวรเข้าไปหาอุปัชฌาย์ก็สามารถทำการบวชได้แล้ว ดังนั้นการบวชเณรจึงไม่ยุ่งยากเหมือนการบวชพระภิกษุซึ่งมีขั้นตอนในการรับรอง ในทางพระวินัยมากมาย คนทั่วไปจึงนิยมบวชเณรหน้าไฟมากกว่าบวชพระหน้าไฟ เทวประภาส มากคล้าย เปรียญ. เอกสารแนะนำวัดคุ้งตะเภา. อุตรดิตถ์ : วัดคุ้งตะเภา, ๒๕๔๙.. ส่วนหนึ่งของ ศาสนาพุทธ สถานีย่อย ประวัติศาสนาพุทธ ศาสดา พระโคตมพุทธเจ้า (พระพุทธเจ้า) จุดมุ่งหมาย นิพพาน พระรัตนตรัย พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์ ความเชื่อและการปฏิบัติ ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม) สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์และพระคาถา คัมภีร์และหนังสือ พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก หลักธรรม ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 นิกาย เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน สังคมศาสนาพุทธ ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน การจาริกแสวงบุญ พุทธสังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ ดูเพิ่มเติม อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ พิธีบรรพชาสามเณร อิทอริค็อกสิบ ============= อิทอริค็อกสิบ(Etoricoxib) เป็นยาบรรเทาอาการข้ออักเสบและมีฤทธิ์แก้ปวดที่เรียกกันว่ากลุ่ม โคซิบ(Coxib) มีความจำเพาะสูงในการออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของ cyclooxygenase-2(COX-2) อิทอริค็อกสิบ มีชื่อทางการค้าเช่น Arcoxia ของบริษัท Merck & Co., Inc ใช้ในการรักษา โรคข้อเสื่อม(osteoarthritis) โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์(rheumatoid arthritis) ทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง อาการอักเสบจากเก๊าท์(gouty arthritis) ชนิดเฉียบพลัน บรรเทาอาการปวดกระดูกและกล้ามเนื้อชนิดเรื้อรัง บรรเทาอาการปวดเฉียบพลันที่เกี่ยวข้องกับทันตศัลยกรรม บรรเทาอาการปวดประจำเดือน บทความเกี่ยวกับแพทยศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:แพทยศาสตร์ นาฬิกาอะตอม =========== นาฬิกาอะตอม ออกแบบโดย Britain's National Physical Laboratory ในปี ค.ศ. 1955 โดยธาตุ Cesium-133 จะถูกให้ความร้อนในเตาควบคุมทำให้อะตอมที่มีความเร็วสูงวิ่งผ่านแม่เหล็กอะตอมที่สามารถดูดกลืนพลังงานได้ เมื่อผ่านคลื่น microwave จะปลดปล่อยพลังงานออกมาที่ความถี่ 9,192,631,770 รอบต่อวินาที อะตอมบางส่วน ที่ปลดปล่อยพลังงานออกมา จะเคลื่อนที่ผ่านต่อไปยังแม่หล็ก ก่อนจะถึงตัวดักจับ (Detectors) ซึ่งจะวัดพลังงานที่ได้ ไปปรับเพิ่มค่าความถี่ของ Microwave จนกว่าค่าความถี่ของ Microwaveจะเท่ากับ ความถี่ในการปลดปล่อยพลังงานของ Cesium-133 ซึ่งจะทำให้ Detectors วัดพลังงานได้สูงสุด ซึ่งความถี่จะมีค่าคงที่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 ในการประชุมเรื่องมาตรฐานหน่วยวัด ได้มีการกำหนดให้ 1 วินาที เท่ากับ ช่วงเวลา ที่ Cesium-133 รับ และปลดปล่อยพลังงาน ในการเปลี่ยนระดับสถานะครบ 9,192,631,770 รอบ" ซึ่งกลายมาเป็นหน่วยมาตรฐานเวลา ในระบบ SI ในปัจจุบัน นาฬิกาอะตอม ออกแบบโดย Britain's National Physical Laboratory ในปี ค.ศ. 1955 โดยธาตุ Cesium-133 จะถูกให้ความร้อนในเตาควบคุมทำให้อะตอมที่มีความเร็วสูงวิ่งผ่านแม่เหล็กอะตอมที่สามารถดูดกลืนพลังงานได้ เมื่อผ่านคลื่น microwave จะปลดปล่อยพลังงานออกมาที่ความถี่ 9,192,631,770 รอบต่อวินาที อะตอมบางส่วน ที่ปลดปล่อยพลังงานออกมา จะเคลื่อนที่ผ่านต่อไปยังแม่หล็ก ก่อนจะถึงตัวดักจับ (Detectors) ซึ่งจะวัดพลังงานที่ได้ ไปปรับเพิ่มค่าความถี่ของ Microwave จนกว่าค่าความถี่ของ Microwaveจะเท่ากับ ความถี่ในการปลดปล่อยพลังงานของ Cesium-133 ซึ่งจะทำให้ Detectors วัดพลังงานได้สูงสุด ซึ่งความถี่จะมีค่าคงที่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 ในการประชุมเรื่องมาตรฐานหน่วยวัด ได้มีการกำหนดให้ 1 วินาที เท่ากับ ช่วงเวลา ที่ Cesium-133 รับ และปลดปล่อยพลังงาน ในการเปลี่ยนระดับสถานะครบ 9,192,631,770 รอบ" ซึ่งกลายมาเป็นหน่วยมาตรฐานเวลา ในระบบ SI ในปัจจุบัน นาฬิกาอะตอม จากเว็บฟิสิกส์ราชมงคล บทความเกี่ยวกับฟิสิกส์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ฟิสิกส์ มีข้อสงสัยว่าบทความนี้อาจละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ระบุไม่ได้ชัดเจนเพราะขาดแหล่งที่มา หรืออ้างถึงสิ่งพิมพ์ที่ยังตรวจสอบไม่ได้ หากแสดงได้ว่าบทความนี้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แทนป้ายนี้ด้วย {{ละเมิดลิขสิทธิ์}} หากคุณมั่นใจว่าบทความนี้ไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ ให้แสดงหลักฐานด้านล่าง โปรดอย่านำป้ายนี้ออกก่อนมีข้อสรุป นาฬิกาอะตอม ข้าวเม่า ======== ข้าวเม่า ได้มาจากรวงข้าวสีเขียวไล่มาจนถึงสีเขียวตกน้ำตาล การบริโภคข้าวเม่าพบในทุกประเทศที่ปลูกข้าว ตั้งแต่ไทยลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า ภูฏาน อินเดีย ทิเบต ในภูฏานใช้เป็นอาหารว่างกินกับน้ำชา ในไทยเป็นขนมที่นิยมกินมาตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตตอนหน้าน้ำจะมีแม่ค้านำขนมใส่เรือมาขาย และขนมกลุ่มนั้นมีข้าวเม่าทอดอยู่ด้วย มีกล่าวถึงข้าวเม่าในนิราศน้ำท่วมใหญ่ พ.ศ. 2460 ว่า พวกแม่ค้ามาขายข้าวเม่าทอด แตงเมหลอดน้ำยาแกงปลาไหล มีเพลงกล่อมเด็กกล่าวถึงข้าวเม่าว่า ข้าวเม่ามีทั้งข้าวเม่าข้าวเหนียว ข้าวเจ้าและข้าวเหนียวดำ โดยที่นิยมมากที่สุดคือข้าวเม่าข้าวเหนียว แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ ข้าวฮ่างหรือข้าวเม่าอ่อนทำจากเมล็ดข้าวสีเขียวจัด ข้าวเม่าแบบเขียวอ่อน ทำจากข้าวห่ามที่เปลือกเป็นสีเขียวเข้ม ข้าวเม่าขาวนวล ทำจากข้าวเกือบแก่ เปลือกเขียวอมน้ำตาล ข้าวเม่าทำเป็นขนมได้หลายแบบ เช่น ใส่เป็นส่วนผสมในกระยาสารท ข้าวเม่าคลุก (เอาน้ำสุกอุ่น ๆ ใส่เกลือพรมข้าวเม่าให้นุ่ม ) ข้าวเม่าบด ใช้ข้าวเม่าใหม่คั่วให้หอมแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง หยดหัวกะทิลงบนข้าวเม่าที่กรองไว้ กะทิจะผสมข้าวเม่าเป็นก้อน แล้วนำมากลิ้งไปมาบนฝ่ามือให้เป็นก้อนเหมือนไข่จะละเม็ด - ส่วนผสมแค่ 3 อย่าง คือ ข้าวเม่า น้ำตาล มะพร้าวห้าวคั้นกะทิ และ มะพร้าวทึนทึกขูด ) ข้าวเม่าราง คือข้าวเม่าที่นำมาคั่วจนพองแล้วกินกับน้ำกะทิ ข้าวเม่าหมี่ (ข้าวเม่าทรงเครื่องหรือ ขนมข้าวเม่าราง) เป็นข้าวเม่ารางแบบแห้ง คือใส่กุ้งแห้ง เต้าหู้ทอด ถั่วลิสง หรือใส่น้ำตาลทรายถ้าเป็นแบบหวาน ข้าวเม่าทอด เป็นข้าวเม่ากวนกับน้ำตาลผสมกับแป้งพอกกล้วยไข่ทั้งลูกแล้วทอด บางท้องถิ่นเรียกกล้วยข้าวเม่า เป็นเครื่องว่างหวาน และ เป็นเครื่องเคียงสำหรับขนมจีนน้ำพริก ) ข้าวเม่าเบื้อง เป็นตำรับอาหารโบราณที่ดัดแปลงมาจาก ขนมเบื้อง โดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ในยุคนั้นรัชกาลที่ 5 ) ข้าวเม่า ได้มาจากรวงข้าวสีเขียวไล่มาจนถึงสีเขียวตกน้ำตาล การบริโภคข้าวเม่าพบในทุกประเทศที่ปลูกข้าว ตั้งแต่ไทยลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า ภูฏาน อินเดีย ทิเบต ในภูฏานใช้เป็นอาหารว่างกินกับน้ำชา ในไทยเป็นขนมที่นิยมกินมาตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตตอนหน้าน้ำจะมีแม่ค้านำขนมใส่เรือมาขาย และขนมกลุ่มนั้นมีข้าวเม่าทอดอยู่ด้วย มีกล่าวถึงข้าวเม่าในนิราศน้ำท่วมใหญ่ พ.ศ. 2460 ว่า พวกแม่ค้ามาขายข้าวเม่าทอด แตงเมหลอดน้ำยาแกงปลาไหล มีเพลงกล่อมเด็กกล่าวถึงข้าวเม่าว่า ข้าวเม่ามีทั้งข้าวเม่าข้าวเหนียว ข้าวเจ้าและข้าวเหนียวดำ โดยที่นิยมมากที่สุดคือข้าวเม่าข้าวเหนียว แบ่งได้เป็น 3 แบบ คือ ข้าวฮ่างหรือข้าวเม่าอ่อนทำจากเมล็ดข้าวสีเขียวจัด ข้าวเม่าแบบเขียวอ่อน ทำจากข้าวห่ามที่เปลือกเป็นสีเขียวเข้ม ข้าวเม่าขาวนวล ทำจากข้าวเกือบแก่ เปลือกเขียวอมน้ำตาล ข้าวเม่าทำเป็นขนมได้หลายแบบ เช่น ใส่เป็นส่วนผสมในกระยาสารท ข้าวเม่าคลุก (เอาน้ำสุกอุ่น ๆ ใส่เกลือพรมข้าวเม่าให้นุ่ม ) ข้าวเม่าบด ใช้ข้าวเม่าใหม่คั่วให้หอมแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง หยดหัวกะทิลงบนข้าวเม่าที่กรองไว้ กะทิจะผสมข้าวเม่าเป็นก้อน แล้วนำมากลิ้งไปมาบนฝ่ามือให้เป็นก้อนเหมือนไข่จะละเม็ด - ส่วนผสมแค่ 3 อย่าง คือ ข้าวเม่า น้ำตาล มะพร้าวห้าวคั้นกะทิ และ มะพร้าวทึนทึกขูด ) ข้าวเม่าราง คือข้าวเม่าที่นำมาคั่วจนพองแล้วกินกับน้ำกะทิ ข้าวเม่าหมี่ (ข้าวเม่าทรงเครื่องหรือ ขนมข้าวเม่าราง) เป็นข้าวเม่ารางแบบแห้ง คือใส่กุ้งแห้ง เต้าหู้ทอด ถั่วลิสง หรือใส่น้ำตาลทรายถ้าเป็นแบบหวาน ข้าวเม่าทอด เป็นข้าวเม่ากวนกับน้ำตาลผสมกับแป้งพอกกล้วยไข่ทั้งลูกแล้วทอด บางท้องถิ่นเรียกกล้วยข้าวเม่า เป็นเครื่องว่างหวาน และ เป็นเครื่องเคียงสำหรับขนมจีนน้ำพริก ) ข้าวเม่าเบื้อง เป็นตำรับอาหารโบราณที่ดัดแปลงมาจาก ขนมเบื้อง โดยท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ในยุคนั้นรัชกาลที่ 5 ) ส.พลายน้อย. เกร็ดย่อยร้อยเรื่อง. กทม. ดอกหญ้า. 2537 เส้นทางขนมไทย. กทม. แสงแดด. 2553. หน้า 137 - 139 "ข้าวเม่าคลุก". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 January 2016.  "ข้าวเม่าบด". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 February 2016.  "ข้าวเม่าหมี่". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 January 2016.  "ข้าวเม่าหมี่". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 January 2016.  "ข้าวเม่าทอด". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 February 2016.  "ข้าวเม่าเบื้อง". thaifoodmaster.com. สืบค้นเมื่อ 1 February 2016.  โอ้ละเห่เอย หัวล้านนอนเปล ลักข้าวเม่าเขากิน เขาจับตัวได้ เอาหัวไถลไถดิน หัวล้านมักกิน ตกสะพานลอยไป ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1909 =========================== เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1909 ในประเทศซานมารีโน เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1909 ในประเทศซานมารีโน การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศซานมารีโน ค.ศ. 1909 รายชื่อปีในประเทศซานมารีโน บทความเกี่ยวกับปี เดือน วัน ศตวรรษ หรือช่วงเวลาต่าง ๆ นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:เวลา ดาบ === ดาบ เป็นชื่อเรียกของอาวุธที่มีขนาดยาวและมีคมที่ด้าน มีการใช้ทั่วโลกโดยมีชื่อเรียกและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ส่วนประกอบหลักของดาบจะประกอบด้วยสามส่วนหลักคือ คมดาบ ไว้สำหรับฟันและตัด, ปลายดาบไว้สำหรับแทง, และ ด้ามดาบไว้สำหรับจับถือ ดาบ เป็นชื่อเรียกของอาวุธที่มีขนาดยาวและมีคมที่ด้าน มีการใช้ทั่วโลกโดยมีชื่อเรียกและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ส่วนประกอบหลักของดาบจะประกอบด้วยสามส่วนหลักคือ คมดาบ ไว้สำหรับฟันและตัด, ปลายดาบไว้สำหรับแทง, และ ด้ามดาบไว้สำหรับจับถือ ชนิดของดาบแบ่งได้หลายประเภท โดยแบ่งตาม ลักษณะการทำคมดาบ ดาบที่มีคมสองด้าน ส่วนใหญ่พบในแถบยุโรป ตัวอย่างเช่น เคลย์มอร์ หรือ ดาบใบกว้าง ดาบที่มีคมด้านเดียว เช่น คะตะนะหรือ Katana (ดาบญี่ปุ่น) เตา (ดาบจีน) หรือ ดาบไทย ทั่วไปของไทย โดยมากมักจะเป็นดาบที่มีลักษณะโค้ง แต่ดาบที่มีคมด้านเดียวที่มีลักษณะใบดาบแบบตรงก็มี ขนาดของดาบ ดาบขนาดใหญ่ที่ต้องใช้สองมือจับถือ ดาบขนาดกลาง และขนาดเล็ก ที่สามารถใช้มือเดียว ในการควบคุมดาบ ลักษณะการใช้งาน ดาบจริงที่ใช้ในการรบหรือต่อสู้ ดาบรำ ดาบซ้อม หรือดาบฝึกหัด เช่น ดาบไม้ ดาบไม้ไผ่ ดาบหวาย ดาบสำหรับตั้งแสดง หรือดาบโชว์ ใช้ประหารชีวิตผู้ต้องโทษประหารชีวิตโดยวิธีการตัดหัว (ใช้ในสมัยโบราณ สำหรับไทยใช้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงประมาณสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น) Allchin, F.R. in South Asian Archaeology 1975: Papers from the Third International Conference of the Association of South Asian Archaeologists in Western Europe, Held in Paris (December 1979) edited by J.E.van Lohuizen-de Leeuw. Brill Academic Publishers, Incorporated. 106-118. ISBN 9004059962. Prasad, Prakash Chandra (2003). Foreign Trade and Commerce in Ancient India. Abhinav Publications. ISBN 8170170532. Edgerton; et al. (2002). Indian and Oriental Arms and Armour. Courier Dover Publications. ISBN 0486422291. Withers, Harvey J S; World Swords 1400 - 1945, Studio Jupiter Military Publishing (2006). ISBN 095491011. Kao Ch'ü-hsün (1959/60). "THE CHING LU SHRINES OF HAN SWORD WORSHIP IN HSIUNG NU RELIGION." Central Asiatic Journal 5, 1959–60, pp. 221–232. Lipid and protein composition of Endoplasmic reticulum in OPM database Animations of the various cell functions referenced here บทความเกี่ยวกับทหาร การทหาร หรืออาวุธนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:การทหาร ดาบญี่ปุ่น หรือ คะตะนะ เป็นดาบที่มีคมด้านเดียว ประเทศอาร์มีเนีย ================ อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (อังกฤษ: Armenia, เสียงอ่าน: /ɑː(r)ˈmiːniə/; อาร์มีเนีย: Հայաստան [hɑjɑsˈtɑn] ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (อังกฤษ: Republic of Armenia; อาร์มีเนีย: Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต อาร์มีเนีย หรือ อาร์เมเนีย (อังกฤษ: Armenia, เสียงอ่าน: /ɑː(r)ˈmiːniə/; อาร์มีเนีย: Հայաստան [hɑjɑsˈtɑn] ฮายาสตาน) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอาร์มีเนีย (อังกฤษ: Republic of Armenia; อาร์มีเนีย: Հայաստանի Հանրապետություն) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส มีอาณาเขตติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตก ติดต่อกับจอร์เจียทางทิศเหนือ ติดต่อกับอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันออก และทางทิศใต้ติดต่อกับอิหร่านและรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (เป็นดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) อาร์มีเนียเป็นรัฐสมาชิกของสภายุโรปและเครือรัฐเอกราช อาร์มีเนียเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ ระบบการเมืองของอาร์มีเนียเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข สถาบันทางการเมือง ฝ่ายนิติบัญญัติ  เป็นระบบสภาเดียว คือ สภาแห่งชาติ มีการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาทุก ๆ 4 ปี มี 131 ที่นั่ง โดยแบ่งเป็นแบบเขตเดียวคนเดียว (one-mandate electoral districts) จำนวน 75 ที่นั่ง และแบบบัญชีรายชื่อ (party lists) จำนวน 56 ที่นั่ง ฝ่ายบริหาร   ประธานาธิบดี เป็นประมุข อยู่ในตำแหน่งวาระละ 5 ปี ประธานาธิบดีคนเดียวกันจะดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระ มีอำนาจในการบริหารประเทศและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีจำนวน 25 คน ตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งประธานาธิบดีจะเป็นผู้เสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อรัฐสภา และนายกรัฐมนตรีจะเป็นผู้เสนอชื่อคณะรัฐมนตรีต่อประธานาธิบดี โดยคณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรี 25 คน (21 กระทรวง) ฝ่ายตุลาการ  ศาลฎีกา (9 คน) ศาลรัฐธรรมนูญ (9 คน) อาร์มีเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 11 จังหวัด (marz, พหูพจน์: marzer) ได้แก่ จังหวัดอารากัตซอตน์ (Aragatsotn) จังหวัดอารารัต (Ararat) จังหวัดอาร์มาวีร์ (Armavir) จังหวัดเกการ์คูนิค (Gegharkunik) จังหวัดโคไตค์ (Kotayk) จังหวัดโลรี (Lori) จังหวัดชีรัค (Shirak) จังหวัดซูย์นิค (Syunik) จังหวัดตาวุช (Tavush) จังหวัดวายอตส์ซอร์ (Vayots Dzor) จังหวัดเยเรวาน (Yerevan) ประเทศอาร์มีเนียเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัสและอยู่ระหว่างทะเลดำกับทะเลแคสเปียน โดยทางเหนือติดกับประเทศจอร์เจียและอาเซอร์ไบจาน ทางใต้ติดกับประเทศอิหร่านและตุรกี อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเพชรเจียระไน อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร อาหารสำเร็จรูป ทรัพยากรธรรมชาติ ทองแดง อะลูมิเนียม ตลาดนำเข้าที่สำคัญ รัสเซีย เบลเยียม สหรัฐฯ อิสราเอล อิหร่าน ตลาดส่งออกที่สำคัญ เบลเยี่ยม สหราชอาณาจักร อิสราเอล รัสเซีย อิหร่าน สินค้านำเข้าที่สำคัญ ก๊าซธรรมชาติ ยาสูบ อาหาร เพชร ปิโตรเลียม สินค้าออกที่สำคัญ เพชร แร่ธาตุ อาหาร พลังงาน (2547) ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้ได้ "ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง". ราชกิจจานุเบกษา. 26 พฤศจิกายน 2544. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2557.  Armenica.org บทความเกี่ยวกับประเทศ ดินแดน หรือเขตการปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล สาธารณรัฐอาร์มีเนีย Հայաստանի Հանրապետություն (อาร์มีเนีย) คำขวัญ: อาร์มีเนีย: Մեկ Ազգ , Մեկ Մշակույթ (Mek Azg, Mek Mshakouyt: หนึ่งชาติ หนึ่งวัฒนธรรม) เพลงชาติ: เมร์ ไฮเรนิก (Մեր Հայրենիք) (ปิตุภูมิของเรา) เมืองหลวง (และเมืองใหญ่สุด) เยเรวาน 40°16′N 44°34′E / 40.267°N 44.567°E / 40.267; 44.567 ภาษาราชการ ภาษาอาร์มีเนีย การปกครอง สาธารณรัฐประชาธิปไตย  -  ประธานาธิบดี แซร์ช ซาร์กเซียน  -  นายกรัฐมนตรี คาเรน คาราเปตยาน เอกราช จากสหภาพโซเวียต/สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน(เข้ายึดครอง)   -  ประกาศ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2533   -  เป็นที่ยอมรับ 21 กันยายน พ.ศ. 2534  พื้นที่  -  รวม 29,800 ตร.กม. (139 1) 11,506 ตร.ไมล์   -  แหล่งน้ำ (%) 4.7 ประชากร  -  2549 (ประเมิน) 2,976,372 (133)  -  2532 (สำมะโน) 3,288,000   -  ความหนาแน่น 100 คน/ตร.กม. (74) 259 คน/ตร.ไมล์ จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)  -  รวม $ 27.116 พันล้าน   -  ต่อหัว $ 9,066  จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)  -  รวม $ 10.741 พันล้าน   -  ต่อหัว $ 3,591  จีนี (2557) 31.5  HDI (2558) 0.743 (สูง) (84th) สกุลเงิน ดรัมอาร์มีเนีย (AMD) เขตเวลา UTC (UTC+4)  •  ฤดูร้อน (DST) เวลาออมแสง (UTC+5) โดเมนบนสุด .am รหัสโทรศัพท์ 374 1: ไม่รวมนากอร์โน-คาราบัค ธงชาติ ตราแผ่นดิน  ตุรกี  จอร์เจีย  อาเซอร์ไบจาน  ตุรกี นากอร์โน-คาราบัค, อาเซอร์ไบจาน  อาเซอร์ไบจาน  อิหร่าน นากอร์โน-คาราบัค, อาเซอร์ไบจาน   อาร์มีเนีย     ด • พ • ก เมืองใหญ่ที่สุดในอาร์มีเนีย http://www.armstat.am/file/article/demos_09_2.pdf World Gazetteer online ที่ เมือง จังหวัด ประชากร (คน) เยเรวาน กิมริ 1 เยเรวาน เยเรวาน 1,107,800 วานาดซอร์ วาการ์สชาพัต 2 กิมริ ชีรัค 168,918 3 วานาดซอร์ โลรี 116,929 4 วาการ์สชาพัต อาร์มาวีร์ 58,000 5 ฮราชดาน โคไตน์ 42,150 6 อะโบฟยาน โคไตน์ 36,705 7 อาร์ตาชัต อารารัต 35,100 8 กะปัน ซูย์นิค 35,071 9 อาร์มาวีร์ อาร์มาวีร์ 26,387 10 กาวาร์ เกการ์คูนิค 22,444 แผนที่สมัยราชอาณาจักรอาร์มีเนีย แผนที่แสดงเขตการปกครองของประเทศอาร์มีเนีย ภูมิประเทศอาร์มีเนีย ละครอาร์มีเนีย อำเภอสำโรงทาบ ============= สำโรงทาบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ สำโรงทาบ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์ อำเภอสำโรงทาบตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอสนม อำเภอโนนนารายณ์ และอำเภอเมืองจันทร์ (จังหวัดศรีสะเกษ) ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอห้วยทับทัน (จังหวัดศรีสะเกษ) ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอห้วยทับทันและอำเภอปรางค์กู่ (จังหวัดศรีสะเกษ) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอศีขรภูมิ อำเภอสำโรงทาบแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 10 ตำบล 100 หมู่บ้าน ท้องที่อำเภอสำโรงทาบประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ได้แก่ เทศบาลตำบลสำโรงทาบ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลสำโรงทาบและบางส่วนของตำบลหนองไผ่ล้อม เทศบาลตำบลหมื่นศรี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหมื่นศรีทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงทาบ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสำโรงทาบ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลสำโรงทาบ) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ล้อม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองไผ่ล้อม (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลสำโรงทาบ) องค์การบริหารส่วนตำบลกระออม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลกระออมทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลหนองฮะ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองฮะทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลศรีสุข ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศรีสุขทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะแก้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะแก้วทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเสม็จ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเสม็จทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลสะโน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสะโนทั้งตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลประดู่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลประดู่ทั้งตำบล โรงเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนสำโรงทาบวิทยาคม โรงเรียนศรีสุขวิทยา โรงเรียนประถมศึกษาและขยายโอกาส สำโรงทาบ 1 โรงเรียนกระเลา ศรีพัฒนา โรงเรียนบ้านบ้านกุง โรงเรียนบ้านเกาะแก้ว โรงเรียนบ้านจังเกา (ลุสิมาวิทยาคาร) โรงเรียนบ้านจังเอิด หนองแมว โรงเรียนบ้านตะเคียนกูยวิทยา โรงเรียนบ้านตะมะ หนองกระจาน โรงเรียนบ้านตางมาง โรงเรียนบ้านโนนลี โรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ โรงเรียนอนุบาลสำโรงทาบ (บริคุตต์วิทยาคุณ) โรงเรียนบ้านหนองคู สะแบะ โรงเรียนบ้านหนองแคน โรงเรียนบ้านหนองแล้ง โรงเรียนบ้านหนองหว้า โพธิ์ ไทร โรงเรียนบ้านหมื่นศรีน้อย โรงเรียนหมื่นศรีประชาสรรค์ สำโรงทาบ 2 โรงเรียนบ้านขนวน โรงเรียนการุญวิทยา โรงเรียนบ้านกระออม โรงเรียนบ้านขอนแก่น โรงเรียนบ้านค้อ โรงเรียนบ้านดู่ โรงเรียนบ้านดู่โศก โคกสะอาด โรงเรียนบ้านศรีราชา โรงเรียนบ้านสะโน โรงเรียนบ้านสังแก โรงเรียนบ้านหนองดุม โรงเรียนบ้านหนองพญา โรงเรียนบ้านหนองเหล็ก โรงเรียนบ้านหนองอีเลิง โรงเรียนบ้านหนองฮะ โรงเรียนกีฬา โรงเรียนกีฬาหมื่นศรีวิทยานุสรณ์ (กุดงิ้วศิริพัฒนา) โรงเรียนเอกชน โรงเรียนโอ้วกวง เดิมเป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ปัจจุบันเป็นสถานรับเลี้ยงเด็กก่อนวัยเรียนของเทศบาลตำบลสำโรงทาบ บทความเกี่ยวกับเขตการปกครองของไทยนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประเทศไทย อำเภอสำโรงทาบ สำโรงทาบเมืองราบลุ่ม ชุ่มชื่นผืนนากว้างใหญ่ ภาคภูมิใจผ้าไหมย้อมมะเกลือ งดงามเหลือรำแกลมอ ข้อมูลทั่วไป อักษรไทย อำเภอสำโรงทาบ อักษรโรมัน Amphoe Samrong Thap จังหวัด สุรินทร์ ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 421.37 ตร.กม. ประชากร 53,065 คน (พ.ศ. 2559) ความหนาแน่น 125.93 คน/ตร.กม. รหัสทางภูมิศาสตร์ 3212 รหัสไปรษณีย์ 32170 ที่ว่าการอำเภอ ที่ตั้ง ที่ว่าการอำเภอสำโรงทาบ หมู่ที่ 1 ถนนบำรุงพัฒนา ตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์ 32170 พิกัด 15°1′21″N 103°56′10″E / 15.02250°N 103.93611°E / 15.02250; 103.93611 หมายเลขโทรศัพท์ 0 4456 9121 หมายเลขโทรสาร 0 4456 9121 ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย 1. สำโรงทาบ (Samrong Thap) 12 หมู่บ้าน 6. เกาะแก้ว (Ko Kaeo) 11 หมู่บ้าน 2. หนองไผ่ล้อม (Nong Phai Lom) 13 หมู่บ้าน 7. หมื่นศรี (Muen Si) 9 หมู่บ้าน 3. กระออม (Kra-om) 9 หมู่บ้าน 8. เสม็จ (Samet) 8 หมู่บ้าน 4. หนองฮะ (Nong Ha) 11 หมู่บ้าน 9. สะโน (Sano) 9 หมู่บ้าน 5. ศรีสุข (Si Suk) 8 หมู่บ้าน 10. ประดู่ (Pradu) 10 หมู่บ้าน ประเทศติมอร์-เลสเตในซีเกมส์ 2011 ================================ ประเทศติมอร์-เลสเต ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2011 ณ เมืองปาเล็มบัง จังหวัดสุมาตราใต้ และจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ในระหว่างวันที่ 11-22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ประเทศติมอร์-เลสเต ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2011 ณ เมืองปาเล็มบัง จังหวัดสุมาตราใต้ และจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ในระหว่างวันที่ 11-22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) บทความเกี่ยวกับกีฬา นักกีฬา หรือทีมกีฬานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่โครงการวิกิกีฬา บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก ประเทศติมอร์-เลสเตในกีฬาเอเชียนเกมส์ ซีเกมส์ 2011 ณ ปาเลมบังและจาการ์ตา นักกีฬา 93 คน  เจ้าหน้าที่ 0 คน เหรียญ อันดับ: 10 1 1 5 7 การเข้าร่วมแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ เอเชียนเกมส์ 1951 ● 1954 ● 1958 ● 1962 ● 1966 ● 1970 ● 1974 ● 1978 ● 1982 ● 1986 ● 1990 ● 1994 ● 1998 ● 2002 ● 2006 ● 2010 ● 2014 เอเชียนเกมส์ฤดูหนาว 1986 ● 1990 ● 1996 ● 1999 ● 2003 ● 2007  ● 2011 ธงของติมอร์-เลสเต รหัสประเทศ   TLS กีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม เคมโป 1 1 4 6 เทควันโด 0 0 1 1 รวม 1 1 5 7 สพันจ์บ็อบ สแควร์แพนส์ ====================== สพันจ์บ็อบ สแควร์แพ้นท์ (อังกฤษ:SpongeBob SquarePants) เป็นการ์ตูนอเมริกาฉายตอนแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ส่วนในประเทศไทย ฉายทางทรูวิชั่นส์ ช่อง ทรู สปาร์ค และช่อง นิคคาโลเดียน ช่อง 33 ซึ่งล่าสุดโดยช่องแก๊งการ์ตูน บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล สพันจ์บ็อบ สแควร์แพ้นท์ SpongeBob SquarePants ตราสัญลักษณ์ของการ์ตูนเรื่อง สพันจ์บ็อบ สแควร์แพ้นท์ (ใช้ในช่วงปี 2550 - ปัจจุบัน) สร้างโดย Stephen Hillenburg เสียง ทอม เคนนี Bill Fagerbakke Rodger Bumpass Carolyn Lawrence Clancy Brown Lori Alan Mary Jo Catlett Doug Lawrence Dee Bradley Baker Sirena Irwin Jill Talley Ernest Borgnine Tim Conway ประเทศแหล่งกำเนิด สหรัฐอเมริกา ภาษาต้นฉบับ อังกฤษ จำนวนฤดูกาล 7 จำนวนตอน 263 การผลิต ความยาวตอน 22 นาที การแพร่ภาพ เครือข่าย/ช่อง Nickelodeon (2542 - ปัจจุบัน) Nicktoons Network (2545 - ปัจจุบัน) YTV (2545-ปัจจุบัน) แบบภาพ SDTV 480i (พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2552) HDTV 720p (พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน) การออกอากาศแรก 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน แหล่งข้อมูลอื่น เว็บไซต์ น้ำขึ้นจากพายุ ============== น้ำขึ้นจากพายุ (อังกฤษ: storm surge หรือ tidal surge) คือคลื่นที่เกิดจากการยกตัวขึ้นของน้ำทะเลนอกชายฝั่งด้วยอิทธิพลของความกดอากาศต่ำและอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อน น้ำขึ้นจากพายุขั้นตอนแรกเกิดจากลมความเร็วสูงที่พัดผลักดันผิวมหาสมุทร ลมจะทำให้น้ำยกตัวสูงขึ้นจากระดับน้ำทะเลปกติ ขั้นตอนที่สองคือความกดอากาศต่ำที่ศูนย์กลางพายุ (ตาพายุ) มีผลเพิ่มยกระดับน้ำขึ้นอีกเล็กน้อย และอีกสาเหตุคือชั้นความลึก (bathymetry) ของน้ำทะเล ผลกระทบรวมจากปรากฏการณ์ความกดอากาศต่ำร่วมกับการพัดของลมพายุเหนือทะเลน้ำตื้นนี้เองที่เป็นต้นเหตุของอุทกภัยจากน้ำขึ้นจากพายุ คำว่า "storm surge" ในภาษาอังกฤษยังมีคำอื่น ๆ ที่ใช้แบบไม่เป็นทางการ (ไม่ใช่ศัพท์ทางวิทยาศาสตร์) คือ "storm tide" (น้ำขึ้นหนุนจากพายุ) นั่นเพราะมันเกี่ยวโยงกับการยกขึ้นของน้ำทะเลจากพายุ, ภาวะน้ำขึ้นหนุน (plus tide), คลื่นเคลื่อนยกตัว (wave run-up), และการท่วมหลากของน้ำจืด เมื่อเอ่ยถึงอ้างอิงความสูงของน้ำขึ้นจากพายุ สิ่งสำคัญคือความชัดเจนของจุดอ้างอิง จากรายงานพายุหมุนเขตร้อนของศูนย์พายุหมุนแห่งชาติ (National Hurricane Center, NHC) รายงานอ้างอิงน้ำขึ้นจากพายุจากความสูงของระดับน้ำที่สูงเหนือจากระดับน้ำขึ้นของอุตุพยากรณ์ และความสูงของระดับน้ำที่ถูกพายุยกขึ้นเหนือจากสถิติระดับน้ำทะเลที่อ้างอิงใน พ.ศ. 2472 (NGVD-29) น้ำขึ้นจากพายุ (อังกฤษ: storm surge หรือ tidal surge) คือคลื่นที่เกิดจากการยกตัวขึ้นของน้ำทะเลนอกชายฝั่งด้วยอิทธิพลของความกดอากาศต่ำและอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อน น้ำขึ้นจากพายุขั้นตอนแรกเกิดจากลมความเร็วสูงที่พัดผลักดันผิวมหาสมุทร ลมจะทำให้น้ำยกตัวสูงขึ้นจากระดับน้ำทะเลปกติ ขั้นตอนที่สองคือความกดอากาศต่ำที่ศูนย์กลางพายุ (ตาพายุ) มีผลเพิ่มยกระดับน้ำขึ้นอีกเล็กน้อย และอีกสาเหตุคือชั้นความลึก (bathymetry) ของน้ำทะเล ผลกระทบรวมจากปรากฏการณ์ความกดอากาศต่ำร่วมกับการพัดของลมพายุเหนือทะเลน้ำตื้นนี้เองที่เป็นต้นเหตุของอุทกภัยจากน้ำขึ้นจากพายุ คำว่า "storm surge" ในภาษาอังกฤษยังมีคำอื่น ๆ ที่ใช้แบบไม่เป็นทางการ (ไม่ใช่ศัพท์ทางวิทยาศาสตร์) คือ "storm tide" (น้ำขึ้นหนุนจากพายุ) นั่นเพราะมันเกี่ยวโยงกับการยกขึ้นของน้ำทะเลจากพายุ, ภาวะน้ำขึ้นหนุน (plus tide), คลื่นเคลื่อนยกตัว (wave run-up), และการท่วมหลากของน้ำจืด เมื่อเอ่ยถึงอ้างอิงความสูงของน้ำขึ้นจากพายุ สิ่งสำคัญคือความชัดเจนของจุดอ้างอิง จากรายงานพายุหมุนเขตร้อนของศูนย์พายุหมุนแห่งชาติ (National Hurricane Center, NHC) รายงานอ้างอิงน้ำขึ้นจากพายุจากความสูงของระดับน้ำที่สูงเหนือจากระดับน้ำขึ้นของอุตุพยากรณ์ และความสูงของระดับน้ำที่ถูกพายุยกขึ้นเหนือจากสถิติระดับน้ำทะเลที่อ้างอิงใน พ.ศ. 2472 (NGVD-29) อิทธิพลที่มีผลต่อการการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในระหว่างเกิดพายุมีอย่างน้อย 5 อิทธิพล ได้แก่ อิทธิพลความกดอากาศ, อิทธิพลโดยตรงจากลมพายุ, อิทธิพลของการหมุนตัวของโลก, อิทธิพลของคลื่น, และอิทธิพลของปริมาณน้ำฝนที่ตก อิทธิพลความกดอากาศของพายุหมุนเขตร้อนจะทำให้ระดับของน้ำในทะเลเปิดยกตัวสูงขึ้นในเขตที่บรรยากาศมีความกดอากาศต่ำ และลดระดับต่ำลงในเขตบรรยากาศมีความกดอากาศสูง ระดับน้ำที่ยกตัวสูงขึ้นจะแปรผกผันกับความกดอากาศที่ต่ำลง เพื่อที่จะทำให้ความกดโดยรวมที่ระนาบของใต้ผิวน้ำคงที่ ผลกระทบนี้ทำให้ประมาณได้ว่าระดับน้ำทะเลจะเพิ่มสูงขึ้น 10 มิลลิเมตร (0.4 นิ้ว) ต่อทุก ๆ 1 มิลลิบาร์ที่ลดลงของความกดอากาศ ความแรงที่พื้นผิวลมเป็นสาเหตุโดยตรงของความสูงชันของพายุลม ปรากฏการณ์นี้รู้จักกันในชื่อ "เกลียวเอ็กมาน" (Ekman spiral) มีข้อเท็จจริงที่ว่าความกดดันของลม (wind stress) เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์การก่อตัวของลม นั่นคือมีแนวโน้มที่ระดับน้ำจะยกเพิ่มในด้านทิศเดียวกับกระแสลมที่พัดเข้าฝั่ง และระดับน้ำจะลดลงในด้านตรงกันข้าม เพราะเหตุนี้จึงเป็นธรรมดาที่พายุจะพัดน้ำซัดอ่าวในทิศทางไปของพายุ เพราะเหตุว่าเกลียวเอ็กมานมีผลจากการแผ่ในแนวฉากของลมที่ผ่านน้ำ และผลกระทบนี้จะแปรผกผันกับความลึกของน้ำ อิทธิพลความดันและการก่อตัวของลมในทะเลเปิดจะผลักดันน้ำเข้าสู่อ่าวในแนวเดียวกับอิทธิพลของน้ำขึ้นน้ำลง อิทธิพลของการหมุนของโลกเป็นสาเหตุของปรากฏการณ์คอริออลิส (Coriolis effect) ซึ่งปรากฏการณ์นี้จะทำให้ทิศทางกระแสน้ำเบี่ยงโค้งไปทางขวาในซีกโลกเหนือ และเบี่ยงโค้งไปทางซ้ายในซีกโลกใต้จากอิทธิพลของการหมุนของโลก เมื่อโค้งของกระแสน้ำเข้าพุ่งปะทะกับชายฝั่งในแนวตั้งฉากจะไปเพิ่มขยายคลื่นที่ยกตัวให้เพิ่มขึ้น และหากโค้งของกระแสน้ำหันออกจากชายฝั่งมีผลให้คลื่นที่ยกตัวนั้นลดลง อิทธิพลของคลื่น ขณะที่คลื่นได้รับกำลังจากลม โดยเฉพาะจากพลังของลมพายุ ลมที่มีพลังจะยกคลื่นให้ใหญ่และแรงในทิศทางเดียวกันกับแนวการเคลื่อนที่ของลม แม้กระนั้นก็จะเห็นผลการเปลี่ยนแปลงที่ผิวคลื่นเพียงเล็กน้อยในทะเลเปิด (ทะเลลึก) แต่มันจะมีผลให้คลื่นขยายตัวใหญ่และแรงขึ้นคลื่นนั้นเมื่อเข้าใกล้ชายฝั่ง เมื่อแนวคลื่นที่กำลังแตกตัวขนานกับหาดมันนำน้ำจำนวนมากซัดตรงเข้าสู่ฝั่ง ขณะที่คลื่นแตกตัวอนุภาคของน้ำที่เคลื่อนเข้าฝั่งนั้นมีโมเมนตัมจำนวนมาก จนอาจซัดกระเซ็นขึ้นไปตามความชันของหาดจนสูงเหนือระดับน้ำทะเลและคลื่นที่ตามมาในลูกที่สองถูกซัดสูงขึ้นก่อนที่มันจะแตกกระจาย ปริมาณน้ำฝนที่ตกมีอิทธิพลมากตรงบริเวณชะวากทะเล (บริเวณที่น้ำจืดกับน้ำเค็มบรรจบกัน) ในพื้นที่เปิดเฮอริเคนสามารถสร้างปริมาณน้ำฝนได้ถึง 12 นิ้วใน 24 ชั่วโมง และอาจจะสูงกว่าในพื้นที่ปิด ผลที่ตามมาคือ สันปันน้ำ (watersheds) (ร่องเขาที่เป็นแนวร่องน้ำ) น้ำจะไหลบ่าอย่างเร็วระบายสู่แม่น้ำ นี่ทำให้ระดับน้ำเพิ่มสูงในระดับสูงสุดของระดับน้ำขึ้นบริเวณปากแม่น้ำ เป็นเพราะพายุขับดันคลื่นยกตัวจากมหาสมุทรและน้ำฝนที่ไหลมาจากชะวากทะเล การวัดการยกตัวสามารถทำได้โดยตรงที่สถานีวัดน้ำขึ้นน้ำลงชายฝั่ง (coastal tidal stations) โดยวัดความแตกต่างของระดับน้ำขึ้นพยากรณ์การระดับยกตัวที่สังเกตได้ ข้อสารสนเทศนี้สามารถดูในขณะเกิดจริงได้ที่เว็บไซต์น้ำขึ้นน้ำลงและกระแสน้ำของ NOAA (NOAA Tides and Currents website) ตลอดเวลาที่ทำการรายงาน การวัดการยกตัวอีกวิธีหนึ่งที่เริ่มนำมาใช้โดย NHC เมื่อ พ.ศ. 2548 โดยทีมงาน USGS ที่ใช้การติดจั้งตัวแปรสัญญาณความกดอากาศไปตามชายฝั่งทะเลก่อนที่พายุหมุนจะมาถึง ซึ่งเป็นการทดลองใช้ครั้งแรกกับพายุหมุนริตา (Hurricane Rita) กรรมวิธีนี้ได้นำมาตรวจสอบความถูกต้องกับกรรมวิธีอื่นที่ใช้กับริตาด้วย และต่อมาได้ใช้กีบพายุหมุนเออร์เนสโกเมื่อปี พ.ศ. 2549 อีกครั้ง เครื่องรับรู้ประเภทนี้สามารถนำไปติดตั้งไว้ในตำแหน่งที่จะถูกน้ำท่วมโดยสามารถวัดความสูงของน้ำส่วนบนได้ น้ำขึ้นจากพายุที่สูงที่สุดที่มีบันทึกในประวัติศาสตร์เกิดจากพายุหมุนมาฮินา (Cyclone Mahina) ที่อ่าวแบเทิสต์ (Bathurst Bay) ประเทศออสเตรเลีย เมื่อปี พ.ศ. 2442 ซึ่งประมาณว่าสูงถึง 13 เมตร แต่งานวิจัยที่ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2543 ให้ข้อสังเกตว่าสาเหตุเหตุหลัก ๆ น่าจะเกิดจากคลื่นเคลื่อนยกตัวมากกว่าเนื่องจากความชันของพื้นใต้ชายฝั่งทะเล บันทึกของน้ำขึ้นจากพายุที่สูงที่สุดเกิดจากพายุหมุนแคทรินาเมื่อ พ.ศ. 2548 ซึ่งทำให้คลื่นยกตัวสูงขึ้นถึงระดับ 7.6 เมตร รอบ ๆ อ่าวเซนต์หลุยส์ รัฐมิสซิสซิปปี, ในชุมชนเวฟแลนด์, ตัวอ่าวเซนต์หลุยส์, ไดมอนด์เฮด, และช่องแคบคริสเตียน โดยมีคลื่นยกตัวสูงถึง 8.5 เมตรที่ช่องแคบคริสเตียน บันทึกน้ำขึ้นจากพายุอีกรายหนึ่งเกิดในบริเวณเดียวกันจากพายุหมุนคามิลเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2512 โดยมีคลื่นยกตัวสูงสุดถึง 7.5 เมตรจากระดับน้ำทะเลสูงสุดซึ่งเกิดที่ช่องแคบคริสเตียนเช่นกัน น้ำขึ้นจากพายุที่เลวร้ายที่สุดในแง่ของการเสียชีวิตของผู้คนเกิดจากพายุไต้ฝุ่นโภลา (Bhola cyclone) เมื่อ พ.ศ. 2513 ที่อ่าวเบงกอลและโดยทั่วไป อ่าวเบงกอล ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยที่เกิดภัยจากน้ำขึ้นจากพายุชุกมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ ในอดีตประเทศไทยก็เคยเกิดปรากฏการณ์น้ำขึ้นจากพายุ เมื่อวันที่ 25-26 ตุลาคม พ.ศ. 2505 ขึ้นในภาคใต้ของประเทศไทย แหลมตะลุมพุก อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จากพายุโซนร้อนแฮเรียต มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 300 กิโลเมตร ความเร็วลม 180 - 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความเร็วในการเคลื่อนที่ 92.622 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เกิดคลื่นยักษ์สูงประมาณยอดต้นสน (20 เมตร) สร้างความเสียหายให้ 9 จังหวัดในภาคใต้เป็นอย่างมาก สถานที่ราชการ อาคารบ้านเรือน โรงเรียน วัด ถูกพายุพัดพังระเนระนาด การไฟฟ้าและสถานีวิทยุตำรวจเสียหายหนัก ไม่สามารถติดต่อกันได้ เรือที่ออกทะเลเสียหายมากมาย ต้นยาง ต้นมะพร้าว และต้นไม้อื่น ๆ ล้มพินาศมหาศาล สวนยางนับแสน ๆ ต้นโค่นล้มขวางเป็นสิบ ๆ กิโลเมตร มีผู้เสียชีวิต 911 คน, สูญหาย 142 คน, บาดเจ็บสาหัส 252 คน,ไม่มีที่อยู่อาศัย 10,314 คน, บ้านเสียหาย 42,409 หลังคาเรือน,โรงเรียน 435 หลัง ดูบทความหลักที่: การพยากรณ์พายุหมุนเขตร้อน ศูนย์พายุหมุนแห่งชาติได้พยากรณ์ไว้ว่าน้ำขึ้นจากพายุโดยใช้แบบจำลองสโลช หรือ SLOSH ซึ่งย่อมาจาก "น้ำขึ้นจากพายุในทะเลสาบและบนแผ่นดิน" ในภาษาอังกฤษ คือ Lake and Overland Surges from Hurricanes. แบบจำลองนี้มีความแม่นยำภายใน 20 percent. ข้อมูลสโลชรับเข้า (input) รวมถึงความกดอากาศส่วนกลางของพายุหมุนเขตร้อน, ขนาดของพายุ, การเคลื่อนตัวของพายุ, เส้นทางการเคลื่อนตัว, และความเร็วลมคงที่สูงสุด นอกจากนี้ยังต้องนำเอาลักษณะภูมิประเทศท้องถิ่น, การหันเหทิศทางของอ่าวและแม่น้ำ, ความลึกของก้นทะเล, การขึ้นลงเชิงดาราศาสตร์ของน้ำ (น้ำขึ้นน้ำลง) , รวมทั้งรูปโฉมทางกายภาพอื่น ๆ เข้ามานับร่วมกันเพื่อการกำหนดกริดหรือตารางล่วงหน้าที่เรียกว่า "แอ่งสโลช" (SLOSH basin) แล้วจึงนำแอ่งสโลชมาทับซ้อนสำหรับเส้นแนวชายฝั่งทะเลด้านใต้และตะวันออกของแผ่นทวีปอเมริกา ในการจำลองพายุบางครั้งอาจใช้แอ่งสโลชมากว่า 1 แอ่ง เช่นการเดินแบบจำลองสโลชแคทรินาซึ่งใช้ทั้งแอ่งทะเลสาบพอนชาร์เทรน/นิวออร์ลีนส์ และ แอ่งมิสซิสซิบปีซาวด์ร่วมกันเพื่อใช้กับการขึ้นฝั่งของพายุ (landfall) ของอ่าวเม็กซิโก แม้การสำรวจทางอุตุนิยมจะเตือนภัยพายุหมุนหรือพายุร้ายแรงทั่ว ๆ ไปแล้วก็ตาม ในบางกรณีบางพื้นที่ที่มีความเสียงต่อน้ำท่วมชายฝั่งสูงเฉพาะที่บางแห่งจะมีการเตือนเกี่ยวกับน้ำขึ้นจากพายุเฉพาะเป็นครั้ง ๆ อยู่ด้วยเหมือนกัน ได้มีการปฏิบัติจริงอยู่แล้วหลายแห่ง เช่นประเทศเนเธอร์แลนด์ สเปน, สหรัฐ, และ สหราชอาณาจักร. กรรมวิธีเพื่อป้องน้ำขึ้นจากพายุเริ่มขึ้นหลังจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ทะเลเหนือ เมื่อ พ.ศ. 2496 โดยการสร้างเขื่อนและประตูกั้นน้ำท่วม (สันดอนกั้นน้ำขึ้นจากพายุ) ปกติจะเปิดให้น้ำและเรือผ่านเข้าออก แต่จะปิดเมื่อมีทีท่าว่าอาจถูกคุกคามจากน้ำขึ้นจากพายุ สันดอนกั้นพายุยกที่สำคัญได้แก่ โอสเตอร์สแค็ลเดอเกริง (Oosterscheldekering) และมาสลันต์เกริง (Maeslantkering) ในเนเธอร์แลนด์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการงานดินดอนสามเหลี่ยม (Delta Works project) และสันดอนเทมส์ (Thames Barrier) ที่ใช้ป้องกันกรุงลอนดอน พายุหมุนเขตร้อน สึนามิ เฮอริเคน เฮอริเคนแคทรินา พายุหมุนโภลา พ.ศ. 2513 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549, หน้า 504. Harris 1963 John Boon (2007). "Ernesto: Anatomy of a Storm Tide" (PDF). Virginia Institute of Marine Science, College of William and Mary. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.  National Ocean Service (2008). "Tide Data - Station Selection". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.  U.S. Geological Survey (2006-10-11). "Hurricane Rita Surge Data, Southwestern Louisiana and Southeastern Texas, September to November 2005". U.S. Department of the Interior. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.  Automated (2008). "U20-001-01-Ti: HOBO Water Level Logger Specification". Onset Corp. สืบค้นเมื่อ 2008-08-10.  Jonathan Nott and Matthew Hayne (2000). ~How_high_was_the_storm_surge_from_Tropical_Cyclone_Mahina.pdf/$file/How_high_was_the_storm_surge_from_Tropical_Cyclone_Mahina.pdf "How high was the storm surge from Tropical Cyclone Mahina? North Queensland, 1899" (PDF). Emergency Management Australia. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11.  FEMA (2005-11-01). "Mississippi Hurricane Katrina Surge Inundation and Advi